รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทาง เพศของวัยรุ่นหญิงในเขตกรุงเทพมหานคร : การวิจัยแบบผสานวิธี / อารยา เชียงของ

By: อารยา เชียงของContributor(s): ปราลีณา ทองศรี | ชะไมพร ธรรมวาสีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): วัยรุ่นหญิงGenre/Form: ความเสี่ยงทางเพศ Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสาธารณสุข ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม–สิงหาคม 2561) หน้า 1-22Summary: ปัจจัยที่จะป้องกันปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรคือพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ จาก การศึกษาที่ผ่านมาพบว่ามี การศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น และการศึกษาในลักษณะของปัจจัยซึ่งเป็นอิทธิพลทางตรง แต่ยังไม่พบการศึกษาในลักษณะการวิเคราะห์เส้นทางปัจจัยที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยรุ่นหญิงที่พบว่ามีความเสี่ยงทางสุขภาพ และผลกระทบทางสังคมจากพฤติกรรมทางเพศมากกว่าเพศชาย จาก การ ทบทวนงานวิจัยที่ผ่านพบปัจจัยที่มีอิท ธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศดังนี้ ปัจจัยระดับ บุคคลที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศได้แก่ ความมุ่งอนาคต และการควบคุมตน การเห็นคุณค่าในตนเอง และค่านิยมต่อพฤติกรรมทาง เพศ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจัยที่จะป้องกันปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรคือพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศ จาก การศึกษาที่ผ่านมาพบว่ามี การศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเสี่ยงทางเพศในวัยรุ่น และการศึกษาในลักษณะของปัจจัยซึ่งเป็นอิทธิพลทางตรง แต่ยังไม่พบการศึกษาในลักษณะการวิเคราะห์เส้นทางปัจจัยที่มีอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยรุ่นหญิงที่พบว่ามีความเสี่ยงทางสุขภาพ และผลกระทบทางสังคมจากพฤติกรรมทางเพศมากกว่าเพศชาย จาก การ ทบทวนงานวิจัยที่ผ่านพบปัจจัยที่มีอิท ธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศดังนี้ ปัจจัยระดับ บุคคลที่ส่งผลต่อ พฤติกรรมป้องกันความเสี่ยงทางเพศได้แก่ ความมุ่งอนาคต และการควบคุมตน การเห็นคุณค่าในตนเอง และค่านิยมต่อพฤติกรรมทาง เพศ