การพัฒนาระบบการจัดการความปวดในผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม / รัชนีวรรณ คูตระกูล

By: รัชนีวรรณ คูตระกูลContributor(s): วณิชชา เรืองศรี | อำภาพร นามวงศ์พรหม | พัชรี ยิ้มแย้มCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การจัดการความปวดGenre/Form: โรคมะเร็ง Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มีนาคม 2561) หน้า 1189-179Summary: การปวด (Cancer Pain) เป็นอาการหนึ่งที่พบบ่อยในผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามซึ่งก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานในระหว่างการรักษา จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัย พบว่า อาการปวดเป็นปัญหาที่สำคัญในผู้ป่วยมะเร็งทุกระยะ เนื่องจากผู้ป่วยได้รับการจัดการความปวดที่ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ พบว่า การจัดการความปวดในผู้ป่วยมะเร็งโดยใช้แนวปฏิบัติที่สร้างจากหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยแนวปฏิบัติดังกล่าวครอบคลุมกิจกรรมการพยาบาล ด้านการประเมินค่าคะแนนความปวด การวางแผน การจัดการลดความปวดโดยไม่ใช้ยา การจัดการโดยใช้ยา การทำงานร่วมกับแพทย์ เภสัชกร การประเมินผลการจัดการดังกล่าว และการลงบันทึกทางการพยาบาล สามารถลดความปวดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้การมีส่วนร่วมระหว่างพยาบาล ผู้ป่วยและครอบครัว มีส่วนทำให้ผู้ป่วยสามารถจัดการความปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การปวด (Cancer Pain) เป็นอาการหนึ่งที่พบบ่อยในผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามซึ่งก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานในระหว่างการรักษา จากการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัย พบว่า อาการปวดเป็นปัญหาที่สำคัญในผู้ป่วยมะเร็งทุกระยะ เนื่องจากผู้ป่วยได้รับการจัดการความปวดที่ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ พบว่า การจัดการความปวดในผู้ป่วยมะเร็งโดยใช้แนวปฏิบัติที่สร้างจากหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยแนวปฏิบัติดังกล่าวครอบคลุมกิจกรรมการพยาบาล ด้านการประเมินค่าคะแนนความปวด การวางแผน การจัดการลดความปวดโดยไม่ใช้ยา การจัดการโดยใช้ยา การทำงานร่วมกับแพทย์ เภสัชกร การประเมินผลการจัดการดังกล่าว และการลงบันทึกทางการพยาบาล สามารถลดความปวดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้การมีส่วนร่วมระหว่างพยาบาล ผู้ป่วยและครอบครัว มีส่วนทำให้ผู้ป่วยสามารถจัดการความปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพ