ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี / นิตยาทิพย์ แสนแดง

By: นิตยาทิพย์ แสนแดงContributor(s): ชื่นจิตร โพธิศัพท์สุขCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- พฤติกรรมการใช้ยาGenre/Form: การส่งเสริมพฤติกรรม Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2561) หน้า 33-41Summary: ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสูงขึ้นตามอายุ อันเกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย พันธุกรรม หรือความเสื่อมถอยของสุขภาพร่างกายจากข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 34.7 โรคเบาหวานร้อยละ 20.1 ความดันโลหิตสูงพบเบาหวานร่วมร้อยละ 45.1 และเบาหวานพบความดันโลหิตสูงร่วม ร้อยละ 77.61 ความเจ็บป่วยด้วยปัญหาสุขภาพเหล่านี้เป็นความเจ็บป่วยที่เรื้อรังรักษาไม่หายขาด จำเป็นต้องใช้ยาในการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถควบคุมอาการและความรุนแรงของโรคได้ อายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวอย่างน้อยหนึ่งโรค บางคนมีมากกว่าหนึ่งโรค จึงมีการใช้ยาหลายชนิด ทำให้ปัญหาการจัดการเรื่องยาของผู้สูงอายุมีมากขึ้น
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสูงขึ้นตามอายุ อันเกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย พันธุกรรม หรือความเสื่อมถอยของสุขภาพร่างกายจากข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 34.7 โรคเบาหวานร้อยละ 20.1 ความดันโลหิตสูงพบเบาหวานร่วมร้อยละ 45.1 และเบาหวานพบความดันโลหิตสูงร่วม ร้อยละ 77.61 ความเจ็บป่วยด้วยปัญหาสุขภาพเหล่านี้เป็นความเจ็บป่วยที่เรื้อรังรักษาไม่หายขาด จำเป็นต้องใช้ยาในการรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถควบคุมอาการและความรุนแรงของโรคได้ อายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวอย่างน้อยหนึ่งโรค บางคนมีมากกว่าหนึ่งโรค จึงมีการใช้ยาหลายชนิด ทำให้ปัญหาการจัดการเรื่องยาของผู้สูงอายุมีมากขึ้น