ผลของโปรแกรมการดูแลตนเองเพื่อลดอาการปวดข้อเข่าของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม ตำบลไชยสถาน อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน / นฤมล ลำเจริญ

By: นฤมล ลำเจริญContributor(s): ชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข | มุกดา หนุ่ยศรีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- การดูแลตนเองGenre/Form: ภําวะข้อเข่ําเสื่อม Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2561) หน้า 107-116Summary: โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติของกระดูกอ่อนผิวข้อและโครงสร้างของส่วนกระดูกในบริเวณใกล้เคียง มีลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ คือ ปวดข้อ ข้อฝืด การทำงานของข้อเสียไป การเคลื่อนไหวของข้อลดลงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมและอาจมีความเสื่อมรุนแรงขึ้นตามลำดับซึ่งนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศไทย ภาวะข้อเข่าเสื่อมเกิดขึ้นกับทุกคนเมื่อมีอายุมากขึ้น เนื่องจากเป็นข้อที่รับน้ำหนักและใช้งานมาก ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม อาการของโรคจะดำเนินไปเรื่อย ๆ อาการปวดข้อเรื้อรังที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อภาวะจิตสังคม เกิดความเครียดที่ต้องพึ่งพาการดูแลรักษํา จุดมุ่งหมายในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ ช่วยบรรเทาอาการปวด ช่วยให้หน้าที่การใช้งานของข้อกลับคืนสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติของกระดูกอ่อนผิวข้อและโครงสร้างของส่วนกระดูกในบริเวณใกล้เคียง มีลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ คือ ปวดข้อ ข้อฝืด การทำงานของข้อเสียไป การเคลื่อนไหวของข้อลดลงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมและอาจมีความเสื่อมรุนแรงขึ้นตามลำดับซึ่งนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศไทย ภาวะข้อเข่าเสื่อมเกิดขึ้นกับทุกคนเมื่อมีอายุมากขึ้น เนื่องจากเป็นข้อที่รับน้ำหนักและใช้งานมาก ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวไม่เหมาะสม อาการของโรคจะดำเนินไปเรื่อย ๆ อาการปวดข้อเรื้อรังที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อภาวะจิตสังคม เกิดความเครียดที่ต้องพึ่งพาการดูแลรักษํา จุดมุ่งหมายในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ คือ ช่วยบรรเทาอาการปวด ช่วยให้หน้าที่การใช้งานของข้อกลับคืนสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด