การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรและพฤติกรรมการทำงานเชิงรุกของพยาบาลลูกจ้างชั่วคราวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิของเมืองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน หง จาง, ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ และ กุลวดี อภิชาตบุตร

By: หง จางContributor(s): ฐิติณัฏฐ์ อัคคะเดชอนันต์ | กุลวดี อภิชาตบุตรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การทำงานเชิงรุกOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 49 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2565) หน้า 48-60Summary: การทำงานเชิงรุก เป็นการทำงานที่มีเป้าหมายสู่อนาคต การทำงานเชิงรุกต้องอาศัยข้อมูลข่าวสาร หรือประสบการณ์ที่ได้รับมาจากอดีต และที่กำลังประสบอยู่ในปัจจุบัน โดยกรอบการคิดจะเน้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต เน้นพันธกิจที่ดำเนินงานได้อย่างรวดเร็ว คุ้มค่าและมีคุณภาพ หรือ เป็นการทำงานที่มีการวางแผนงานล่วงหน้า อย่างละเอียดรอบคอบ รู้จักและรับผิดชอบตนเอง โดยสามารถที่จะเลือกตอบสนองแรงกระตุ้นจากภายนอก ในมุมมองและคุณค่าของตนเองที่ไม่ยอมตกอยู่ภายใต้อิทธิพลสิ่งแวดล้อมรอบข้างและสถานการณ์ภายนอกบีบบังคับให้ต้องจำใจทำ รวมถึงมีสติไม่จมปลักอยู่กับปัญหา แต่ตอบสนองด้วยสติ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การทำงานเชิงรุก เป็นการทำงานที่มีเป้าหมายสู่อนาคต การทำงานเชิงรุกต้องอาศัยข้อมูลข่าวสาร หรือประสบการณ์ที่ได้รับมาจากอดีต และที่กำลังประสบอยู่ในปัจจุบัน โดยกรอบการคิดจะเน้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต เน้นพันธกิจที่ดำเนินงานได้อย่างรวดเร็ว คุ้มค่าและมีคุณภาพ หรือ เป็นการทำงานที่มีการวางแผนงานล่วงหน้า อย่างละเอียดรอบคอบ รู้จักและรับผิดชอบตนเอง โดยสามารถที่จะเลือกตอบสนองแรงกระตุ้นจากภายนอก ในมุมมองและคุณค่าของตนเองที่ไม่ยอมตกอยู่ภายใต้อิทธิพลสิ่งแวดล้อมรอบข้างและสถานการณ์ภายนอกบีบบังคับให้ต้องจำใจทำ รวมถึงมีสติไม่จมปลักอยู่กับปัญหา แต่ตอบสนองด้วยสติ