รูปแบบการออกกำลังแขนชนิดมีแรงต้านต่อความพร้อมของเส้นฟอกเลือดในผู้ที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม : การทบทวนอย่างเป็นระบบ ดุษฎี ก้อนอาทร และ พรรณี ไชยวงศ์

By: ดุษฎี ก้อนอาทรContributor(s): พรรณี ไชยวงศ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ไตเรื้อรัง -- โรค | การดูแลผู้ป่วยOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 49 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2565) หน้า 252-265Summary: เมื่อเป็นโรคไตเรื้อรังไตจะค่อยๆ สูญเสียความสามารถในการกำจัดของเสียและของเหลวออกจากเลือด ส่งผลให้เกิดการสะสมของเสียและของเหลวที่เป็นอันตรายทำให้รู้สึกไม่สบาย แม้ว่าโรคไตเรื้อรังจะรักษาไม่หาย แต่การรักษาจะช่วยชะลอการลุกลาม ควบคุมอาการ และช่วยให้มีชีวิตอยู่ได้ โรคไตเรื้อรังส่งผลกระทบต่อไตทั้งสองข้างในเวลาเดียวกัน ร่างกายมีไต 2 ข้างเพื่อช่วยกรองของเสีย ไตข้างหนึ่งไม่ใช่ “ตัวสำรอง” ของไตอีกข้างหนึ่ง ไตทั้งสองข้างทำงานพร้อมกันเพื่อกรองของเสียออกจากร่างกาย เมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตเรื้อรังหมายความว่าไตทั้งสองข้างได้รับผลกระทบและไม่สามารถกรองของเสียและของเหลวออกจากร่างกายได้ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ส่วนใหญ่ได้รับการรักษาด้วยการฟอกไต เนื่องจากไตไม่สามารถกรองเลือดได้พอ การปลูกถ่ายไตและการดูแลแบบประคับประคองก็เป็นอีกทางเลือกในการรักษา
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เมื่อเป็นโรคไตเรื้อรังไตจะค่อยๆ สูญเสียความสามารถในการกำจัดของเสียและของเหลวออกจากเลือด ส่งผลให้เกิดการสะสมของเสียและของเหลวที่เป็นอันตรายทำให้รู้สึกไม่สบาย แม้ว่าโรคไตเรื้อรังจะรักษาไม่หาย แต่การรักษาจะช่วยชะลอการลุกลาม ควบคุมอาการ และช่วยให้มีชีวิตอยู่ได้ โรคไตเรื้อรังส่งผลกระทบต่อไตทั้งสองข้างในเวลาเดียวกัน ร่างกายมีไต 2 ข้างเพื่อช่วยกรองของเสีย ไตข้างหนึ่งไม่ใช่ “ตัวสำรอง” ของไตอีกข้างหนึ่ง ไตทั้งสองข้างทำงานพร้อมกันเพื่อกรองของเสียออกจากร่างกาย เมื่อได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคไตเรื้อรังหมายความว่าไตทั้งสองข้างได้รับผลกระทบและไม่สามารถกรองของเสียและของเหลวออกจากร่างกายได้ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย ส่วนใหญ่ได้รับการรักษาด้วยการฟอกไต เนื่องจากไตไม่สามารถกรองเลือดได้พอ การปลูกถ่ายไตและการดูแลแบบประคับประคองก็เป็นอีกทางเลือกในการรักษา