ผลของโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขต่อความรู้และการรับรู้สมรรถนะตนเองในการดูแลผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม : กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร / วิไล ตั้งปนิธานดี

By: วิไล ตั้งปนิธานดีContributor(s): สายสุนีย์ ดีประดิษฐ์ | ภัชรินทร์ วงค์ศรีดา | สมนึก สกุลหงส์โสภณCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- อาสาสมัครสาธารณสุขGenre/Form: โรคสมองเสื่อม Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สภาการพยาบาล ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2563) หน้า 46-60Summary: การป้องกันผู้สูงอายุด้วยการค้นหาผู้ที่เสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม หรือมีอาการระยะเริ่มแรกก่อนที่จะมีอาการแสดงของโรคสมองเสื่อมจึงมีความสำคัญ อย่างไรก็ตามการคัดกรองส่วนใหญ่มักทำในโรงพยาบาลเมื่อผู้สูงอายุมีอาการสมองเสื่อมแล้ว การคัดกรองผู้สูงอายุสมองเสื่อมในชุมชนพบว่ายังจำกัด อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) เป็นกลุ่มบุคคลสำคัญที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนระดับปฐมภูมิภายใต้การกำกับดูแลของทีมสุขภาพสำหรับกรุงเทพมหานคร สำนักอนามัยและศูนย์บริการสาธารณสุข ได้มีการจัดอบรมและพัฒนาศักยภาพ อสส. เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสำคัญคือ คนไทยมีสุขภาพดีอายุยืนยาว คนในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างใกล้ชิด และลดการเจ็บป่วยของคนไทยจาก โรคสำคัญคือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ อัมพาตจากหลอดเลือดสมอง และมะเร็ง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การป้องกันผู้สูงอายุด้วยการค้นหาผู้ที่เสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อม หรือมีอาการระยะเริ่มแรกก่อนที่จะมีอาการแสดงของโรคสมองเสื่อมจึงมีความสำคัญ อย่างไรก็ตามการคัดกรองส่วนใหญ่มักทำในโรงพยาบาลเมื่อผู้สูงอายุมีอาการสมองเสื่อมแล้ว การคัดกรองผู้สูงอายุสมองเสื่อมในชุมชนพบว่ายังจำกัด อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) เป็นกลุ่มบุคคลสำคัญที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนระดับปฐมภูมิภายใต้การกำกับดูแลของทีมสุขภาพสำหรับกรุงเทพมหานคร สำนักอนามัยและศูนย์บริการสาธารณสุข ได้มีการจัดอบรมและพัฒนาศักยภาพ อสส. เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสำคัญคือ คนไทยมีสุขภาพดีอายุยืนยาว คนในชุมชนได้รับการดูแลสุขภาพอย่างใกล้ชิด และลดการเจ็บป่วยของคนไทยจาก โรคสำคัญคือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ อัมพาตจากหลอดเลือดสมอง และมะเร็ง