ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ดูแลต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่หลังผ่าตัดที่บ้าน / สมจีน ยะหัวฝาย

By: สมจีน ยะหัวฝายContributor(s): ผ่องศรี ศรีมรกต | เกศศิริ วงษ์คงคำ | เกศศิริ วงษ์คงคำCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่Genre/Form: การดูแลผู้ป่วย Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: สภาการพยาบาล ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2563) หน้า 118-134Summary: โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 ของโลก1 ในประเทศไทยพบมากเป็นอันดับสองรองจากมะเร็งเต้านม การเกิดโรคโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่พบมากในวัยสูงอายุ การรักษาในปัจจุบันพิจารณาตามชนิดและระยะของโรค การรักษาด้วยการผ่าตัดเปิดช่องท้องเป็นทางเลือกหลักในการรักษาผู้ป่วย การผ่าตัดเปิดช่องท้องจะทำให้เกิดการบาดเจ็บบริเวณผิวหนัง ลำไส้ใหญ่และอวัยวะลำไส้ใหญ่และอวัยวะภายในช่องท้อง ส่งผลต่อการฟื้นตัวหลังผ่าตัดของผู้ป่วย ซึ่งการฟื้นตัวหลังผ่าตัดช่องท้องจะพบได้ในวันแรกหลังผ่าตัด ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องจะมีระยะการฟื้นตัวจนกระทั่งสามารถกลับมาปฏิบัติกิจกรรมต่างๆได้ใกล้เคียงกับระยะก่อนผ่าตัด เช่น การเดิน การอาบนำการแต่งกาย การรับประทานอาหารและการดูแลแผล ประมาณ 3-6 สัปดาห์
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 ของโลก1 ในประเทศไทยพบมากเป็นอันดับสองรองจากมะเร็งเต้านม การเกิดโรคโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่พบมากในวัยสูงอายุ การรักษาในปัจจุบันพิจารณาตามชนิดและระยะของโรค การรักษาด้วยการผ่าตัดเปิดช่องท้องเป็นทางเลือกหลักในการรักษาผู้ป่วย การผ่าตัดเปิดช่องท้องจะทำให้เกิดการบาดเจ็บบริเวณผิวหนัง ลำไส้ใหญ่และอวัยวะลำไส้ใหญ่และอวัยวะภายในช่องท้อง ส่งผลต่อการฟื้นตัวหลังผ่าตัดของผู้ป่วย ซึ่งการฟื้นตัวหลังผ่าตัดช่องท้องจะพบได้ในวันแรกหลังผ่าตัด ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องจะมีระยะการฟื้นตัวจนกระทั่งสามารถกลับมาปฏิบัติกิจกรรมต่างๆได้ใกล้เคียงกับระยะก่อนผ่าตัด เช่น การเดิน การอาบนำการแต่งกาย การรับประทานอาหารและการดูแลแผล ประมาณ 3-6 สัปดาห์