ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของอาการกับความทุกข์ใจในผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม รัตติยา ไชยชมพู

By: รัตติยา ไชยชมพูContributor(s): อำภาพร นามวงศ์พรหม | น้ำอ้อย ภักดีวงศ์ | เบญจมาศ ปรีชาคุณ | ฐิตินันท์ อ้วนล่ำCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ความทุกข์ใจ -- ผู้ป่วยมะเร็งOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและสุขภาพ ปีที่ 13 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม - ธันวาคม 2562) หน้า 107-120Summary: โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญของทั่วโลกเนื่องจากพบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่และมีผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็งสูงขึ้น ผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามเป็นกลุ่มที่มีความทุกข์ทรมานจากอาการและผลข้างเคียงจากการรักษามากกว่าผู้ป่วยมะเร็งระยะอื่น อาการที่พบบ่อยซึ่งทําให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานคืออาการปวดเบื่ออาหารน้ําหนักลดหายใจลําบากคลื่นไส้อาเจียนอ่อนเพลียท้องผูกนอนไม่หลับ ซึ่งปัญหาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจนั้นส่งผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ในครอบครัวและสังคมของผู้ป่วยซึ่งรวมถึงการเข้าถึงบริการและสวัสดิการปัญหาการเงินปัญหาการทํางานการมีสัมพันธภาพกับบุคคลรอบข้างและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมเหล่านี้ส่งผลให้ระดับความทุกข์ของผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นหากไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตลดลงได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญของทั่วโลกเนื่องจากพบว่ามีผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่และมีผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็งสูงขึ้น ผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามเป็นกลุ่มที่มีความทุกข์ทรมานจากอาการและผลข้างเคียงจากการรักษามากกว่าผู้ป่วยมะเร็งระยะอื่น อาการที่พบบ่อยซึ่งทําให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมานคืออาการปวดเบื่ออาหารน้ําหนักลดหายใจลําบากคลื่นไส้อาเจียนอ่อนเพลียท้องผูกนอนไม่หลับ ซึ่งปัญหาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจนั้นส่งผลกระทบต่อบทบาทหน้าที่ในครอบครัวและสังคมของผู้ป่วยซึ่งรวมถึงการเข้าถึงบริการและสวัสดิการปัญหาการเงินปัญหาการทํางานการมีสัมพันธภาพกับบุคคลรอบข้างและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมเหล่านี้ส่งผลให้ระดับความทุกข์ของผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นหากไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลให้คุณภาพชีวิตลดลงได้