รูปแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ณัฐปภัสญ์ นวลสีทอง

By: ณัฐปภัสญ์ นวลสีทองContributor(s): ธัญรัศม์ ภุชงค์ชัย | อ้อยทิพย์ บัวจันทร์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2563) หน้า 42-48Summary: การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ มุ่งเน้นการให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรงเพียงพอ และมีความสามารถในการดูแลตนเอง รวมทั้งการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตนเองโดยไม่เป็นภาระของบุคคลในครอบครัวหรือญาติพี่น้อง4 และจากการสำรวจผู้สูงอายุไทยในช่วงบั้นปลายชีวิตว่า สิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการมากที่สุดคือ “ความสุข” ซึ่งเกิดจากการมีคุณภาพชีวิตที่ดี อันประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ “สุขภาพ” ทั้งสุขภาพกาย จิต สังคมและปัญญา คือ “การมีคุณภาพชีวิตที่ดี”1 กระทรวงสาธารณสุข ได้มีการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและยอมรับว่าการออกกำลังกายที่เหมาะกับผู้สูงอายุโดยทั่วไปเป็นการออกกำลังกายที่ใช้การฟ้อนรำเป็นฐาน และเป็นการออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่ใช้แรงกระแทกต่ำ ที่มีการเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรีและท่ารำ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ มุ่งเน้นการให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่แข็งแรงเพียงพอ และมีความสามารถในการดูแลตนเอง รวมทั้งการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตนเองโดยไม่เป็นภาระของบุคคลในครอบครัวหรือญาติพี่น้อง4 และจากการสำรวจผู้สูงอายุไทยในช่วงบั้นปลายชีวิตว่า สิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการมากที่สุดคือ “ความสุข” ซึ่งเกิดจากการมีคุณภาพชีวิตที่ดี อันประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ “สุขภาพ” ทั้งสุขภาพกาย จิต สังคมและปัญญา คือ “การมีคุณภาพชีวิตที่ดี”1 กระทรวงสาธารณสุข ได้มีการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและยอมรับว่าการออกกำลังกายที่เหมาะกับผู้สูงอายุโดยทั่วไปเป็นการออกกำลังกายที่ใช้การฟ้อนรำเป็นฐาน และเป็นการออกกำลังกายแบบแอโรบิกที่ใช้แรงกระแทกต่ำ ที่มีการเคลื่อนไหวตามจังหวะดนตรีและท่ารำ