ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะการแก้ปัญหาทางสังคมต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล ดวงใจ วัฒนสินธุ์

By: ดวงใจ วัฒนสินธุ์Contributor(s): สิริพิมพ์ ชูปาน | ภรภัทร เฮงอุดมทรัพย์ | ศิริวัลห์ วัฒนสินธุ์ | รัศมิ์สุนันท์ จันทรภักดีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การแก้ปัญหาทางสังคม -- ภาวะซึมเศร้าGenre/Form: นักศึกษาพยาบาล Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพ ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2563) หน้า 86-102Summary: นักศึกษาพยาบาลต้องเผชิญกับการปรับตัวด้านการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ซึ่งรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในการศึกษาทางพยาบาลศาสตร์ประกอบด้วย ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การเรียนภาคทฤษฎีและการมอบหมายงานที่มากเกินไป เป็นสิ่งที่ทำให้นักศึกษาพยาบาลเกิดความเครียดสูง มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้า ส่วนการฝึกปฏิบัติในวิชาชีพพยาบาลซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้ในภาคทฤษฎีมาประยุกต์ในการฝึกทักษะปฏิบัติการพยาบาลที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดูแลผู้ป่วยที่หลากหลายในสถานการณ์จริง ซึ่งนักศึกษาพยาบาลต้องใช้ความอดทน รอบคอบ ระมัดระวัง และรับผิดชอบ เพราะความผิดพลาดที่เกิดขึ้นอาจ อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตของผู้ป่วยและตนเองได้ นอกจากนี้นักศึกษาพยาบาลยังต้องปรับตัวกับอาจารย์นิเทศ ผู้รับบริการ ญาติ บุคลากรหรือเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย รวมทั้งต้องเผชิญกับความคาดหวังและความต้องการของผู้ป่วยและญาติทำให้เกิดความรู้สึกกดดัน คับข้องใจ วิตกกังวล หรือมีความเครียดในระดับสูง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

นักศึกษาพยาบาลต้องเผชิญกับการปรับตัวด้านการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ซึ่งรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในการศึกษาทางพยาบาลศาสตร์ประกอบด้วย ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ การเรียนภาคทฤษฎีและการมอบหมายงานที่มากเกินไป เป็นสิ่งที่ทำให้นักศึกษาพยาบาลเกิดความเครียดสูง มีปัญหาทางด้านสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้า ส่วนการฝึกปฏิบัติในวิชาชีพพยาบาลซึ่งเป็นการนำองค์ความรู้ในภาคทฤษฎีมาประยุกต์ในการฝึกทักษะปฏิบัติการพยาบาลที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการดูแลผู้ป่วยที่หลากหลายในสถานการณ์จริง ซึ่งนักศึกษาพยาบาลต้องใช้ความอดทน รอบคอบ ระมัดระวัง และรับผิดชอบ เพราะความผิดพลาดที่เกิดขึ้นอาจ อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตของผู้ป่วยและตนเองได้ นอกจากนี้นักศึกษาพยาบาลยังต้องปรับตัวกับอาจารย์นิเทศ ผู้รับบริการ ญาติ บุคลากรหรือเจ้าหน้าที่ในหอผู้ป่วย รวมทั้งต้องเผชิญกับความคาดหวังและความต้องการของผู้ป่วยและญาติทำให้เกิดความรู้สึกกดดัน คับข้องใจ วิตกกังวล หรือมีความเครียดในระดับสูง