การพัฒนาบทเรียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ชิดธิณัฐ คอมแพงจันทร์, ภุสัสชิ กันทะบุผา, คณินวรธันญ์ ไชยรบ และ ภาสินีส์ เหลืองวิเศษกุล

By: ชิดธิณัฐ คอมแพงจันทร์Contributor(s): ภุสัสชิ กันทะบุผา | คณินวรธันญ์ ไชยรบ | ภาสินีส์ เหลืองวิเศษกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การเรียนการสอน | การจัดการเรียนการสอนGenre/Form: การพัฒนาบทเรียน Online resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: พิฆเนศวร์สาร ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565) หน้า 119-132Summary: การพัฒนาบทเรียน เป็นแนวคิดและกระบวนการพัฒนาครูวิชาชีพที่มุ่งเน้นการทางานศึกษาวิจัยร่วมกันของกลุ่มครูและผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนในบริบทการทางานจริงในชั้นเรียนและสถานศึกษาของตนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องในระยะยาว ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนไปพร้อมกัน นวัตกรรมการพัฒนาบทเรียน เป็นนวัตกรรมที่เป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครู เพราะเป็นแนวทางที่จะช่วยให้ครูได้ปรับปรุงการสอนด้วยตัวของครูเองและเป็นการผลักดันให้ครูเกิดความรู้สึกที่จะพัฒนาวิชาชีพครูภายใต้ กระบวนการปรับปรุงการสอนด้วยตัวของครูเองอยู่ตลอดเวลาโดยไม่ต้องรอให้มีผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาดูแล เพราะจุดประสงค์หลักหรือจุดเน้นที่จะทำให้เกิดผลคือนักเรียน ดังนั้นการนำแนวทางนี้มาใช้ในการสอน ของครูไม่ว่าจะเป็นด้านเนื้อหา วิธีการสอน สื่อการสอน ที่นำมาใช้จะเกิดผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมาก
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การพัฒนาบทเรียน เป็นแนวคิดและกระบวนการพัฒนาครูวิชาชีพที่มุ่งเน้นการทางานศึกษาวิจัยร่วมกันของกลุ่มครูและผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนในบริบทการทางานจริงในชั้นเรียนและสถานศึกษาของตนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องในระยะยาว ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนไปพร้อมกัน นวัตกรรมการพัฒนาบทเรียน เป็นนวัตกรรมที่เป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครู เพราะเป็นแนวทางที่จะช่วยให้ครูได้ปรับปรุงการสอนด้วยตัวของครูเองและเป็นการผลักดันให้ครูเกิดความรู้สึกที่จะพัฒนาวิชาชีพครูภายใต้ กระบวนการปรับปรุงการสอนด้วยตัวของครูเองอยู่ตลอดเวลาโดยไม่ต้องรอให้มีผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาดูแล เพราะจุดประสงค์หลักหรือจุดเน้นที่จะทำให้เกิดผลคือนักเรียน ดังนั้นการนำแนวทางนี้มาใช้ในการสอน ของครูไม่ว่าจะเป็นด้านเนื้อหา วิธีการสอน สื่อการสอน ที่นำมาใช้จะเกิดผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมาก