ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อ คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง ธัญรัศม์ ภุชงค์ชัย

By: ธัญรัศม์ ภุชงค์ชัยContributor(s): ณัฐปภัสญ์ นวลสีทอง | ธรณินทร์ คุณแขวน | ภัททิรา ก้านทองCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ผู้สูงอายุ -- โรคเรื้อรังOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 38 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม 2563) หน้า 172-180Summary: ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมถอยทุกๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย และด้านจิตใจ ด้วยอายุที่มากขึ้นร่างกายจึงมีความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ทำให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวมากกว่าหนึ่งโรค เช่น โรคหัวใจ โรคไต โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ซึ่งได้แก่ ภาวะสมองเสื่อม ภาวะซึม สับสนเฉียบพลัน ภาวะซึมเศร้า ภาวะหกล้ม สูญเสียความสามารถในการเดิน ภาวะกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่อยู่ และภาวะทุพโภชนาการ กลุ่มอาการเหล่านี้พบมากขึ้นเรื่อยๆ การเสื่อมถอยด้านสุขภาพทางกาย ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานต่างๆ และความต้านทานโรคลดลง แต่เพิ่มการเจ็บป่วยมากขึ้น
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมถอยทุกๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย และด้านจิตใจ ด้วยอายุที่มากขึ้นร่างกายจึงมีความเสื่อมของอวัยวะต่างๆ ทำให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวมากกว่าหนึ่งโรค เช่น โรคหัวใจ โรคไต โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคข้อเข่าเสื่อม เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีกลุ่มอาการที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ซึ่งได้แก่ ภาวะสมองเสื่อม ภาวะซึม สับสนเฉียบพลัน ภาวะซึมเศร้า ภาวะหกล้ม สูญเสียความสามารถในการเดิน ภาวะกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่อยู่ และภาวะทุพโภชนาการ กลุ่มอาการเหล่านี้พบมากขึ้นเรื่อยๆ การเสื่อมถอยด้านสุขภาพทางกาย ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานต่างๆ และความต้านทานโรคลดลง แต่เพิ่มการเจ็บป่วยมากขึ้น