ปัจจัยทำนายพฤติกรรมข่มเหงรังแกผู้อื่นในเด็กวัยเรียนตอนปลาย กิติรัตน์ สุวรรณรงค์, ยุนี พงศ์จตุรวิทย์ และ นุจรี ไชยมงคล

By: กิติรัตน์ สุวรรณรงค์Contributor(s): ยุนี พงศ์จตุรวิทย์ | นุจรี ไชยมงคลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): พฤติกรรมข่มเหงรังแกOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม-ธันวาคม 2565) หน้า 13-25 Summary: การข่มเหงรังแก หรือ การกลั่นแกล้ง คือ การใช้กำลัง, การข่มขู่, การล้อเลียนให้เจ็บปวด, หรือการคุกคาม โดยผู้กระทำมีเป้าหมายเพื่อ กระทำทารุณ, ครอบงำ, หรือขู่ผู้ถูกกระทำให้ยอมจำนน พฤติกรรมเช่นนี้มักเกิดขึ้นซ้ำๆ เป็นกิจวัตร การข่มเหงรังแกกับความขัดแย้งอื่นๆ มีความแตกต่างสำคัญอยู่ที่การที่ฝ่ายหนึ่งมีอำนาจเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นอำนาจทางกายภาพหรืออำนาจทางสังคม และไม่ว่าจะเป็นอำนาจที่มีอยู่จริงหรือเป็นอำนาจที่มีเฉพาะในความรับรู้ของผู้กระทำและคนอื่นๆ ก็ตามกล่าวอีกอย่างคือ การข่มเหงรังแกเป็นพฤติกรรมก้าวร้าวชนิดหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะคือต้องมีองค์ประกอบ 3 ข้อ ได้แก่ มีเจตนาก้าวร้าว, เกิดขึ้นระหว่างคู่ขัดแย้งที่ฝ่ายกระทำมีอำนาจเหนือกว่า, และมีการทำซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหนึ่ง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การข่มเหงรังแก หรือ การกลั่นแกล้ง คือ การใช้กำลัง, การข่มขู่, การล้อเลียนให้เจ็บปวด, หรือการคุกคาม โดยผู้กระทำมีเป้าหมายเพื่อ กระทำทารุณ, ครอบงำ, หรือขู่ผู้ถูกกระทำให้ยอมจำนน พฤติกรรมเช่นนี้มักเกิดขึ้นซ้ำๆ เป็นกิจวัตร การข่มเหงรังแกกับความขัดแย้งอื่นๆ มีความแตกต่างสำคัญอยู่ที่การที่ฝ่ายหนึ่งมีอำนาจเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นอำนาจทางกายภาพหรืออำนาจทางสังคม และไม่ว่าจะเป็นอำนาจที่มีอยู่จริงหรือเป็นอำนาจที่มีเฉพาะในความรับรู้ของผู้กระทำและคนอื่นๆ ก็ตามกล่าวอีกอย่างคือ การข่มเหงรังแกเป็นพฤติกรรมก้าวร้าวชนิดหนึ่ง มีลักษณะเฉพาะคือต้องมีองค์ประกอบ 3 ข้อ ได้แก่ มีเจตนาก้าวร้าว, เกิดขึ้นระหว่างคู่ขัดแย้งที่ฝ่ายกระทำมีอำนาจเหนือกว่า, และมีการทำซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นระยะเวลาหนึ่ง