ความรอบรู้ด้านสุขภาพจิต ความรู้ และการจัดการปัญหาสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดงห่องแห่ จังหวัดอุบลราชธานี ปภาดา น้อยวงศ์ และ สกลสุภา สิงคิบุตร

By: ปภาดา น้อยวงศ์Contributor(s): สกลสุภา สิงคิบุตรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สุขภาพจิต | ผู้สูงอายุ -- การดูแลOnline resources: บทความฉบับเต็มภาษาไทย In: การพยาบาลและการดูแลสุขภาพ ปีที่ 41 ฉบับที่ 3 (กรกฏาคม-กันยายน 2566) หน้า 114-124Summary: สุขภาพจิตเป็นระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต เป็นสถานะทางจิตของบุคคลที่ทำหน้าที่ได้ในระดับการปรับตัวได้ทางอารมณ์และพฤติกรรมที่น่าพอใจ จากทัศนะจิตวิทยาเชิงบวกหรือสัมพฤตินิยม สุขภาพจิตอาจรวมความสามารถของบุคคลในการมีความสุขกับชีวิต และสร้างสมดุลระหว่างกิจกรรมชีวิตและความพยายามบรรลุความยืดหยุ่นทางจิตวิทยา องค์การอนามัยโลกระบุว่า สุขภาพจิตรวม "ความเป็นอยู่ดีอัตวิสัย การก่อผลตนเองที่รับรู้ อัตตาณัติ ความสามารถ การพึ่งระหว่างรุ่นและความตระหนักในศักยภาพตนในด้านปัญญาและอารมณ์ ความเป็นอยู่ดีของปัจเจกบุคคลรวมอยู่ในการตระหนักถึงความสามารถของตน การจัดการกับความเครียดปกติของชีวิต การทำงานและการเข้ามีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ต่อชุมชน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

สุขภาพจิตเป็นระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต เป็นสถานะทางจิตของบุคคลที่ทำหน้าที่ได้ในระดับการปรับตัวได้ทางอารมณ์และพฤติกรรมที่น่าพอใจ จากทัศนะจิตวิทยาเชิงบวกหรือสัมพฤตินิยม สุขภาพจิตอาจรวมความสามารถของบุคคลในการมีความสุขกับชีวิต และสร้างสมดุลระหว่างกิจกรรมชีวิตและความพยายามบรรลุความยืดหยุ่นทางจิตวิทยา องค์การอนามัยโลกระบุว่า สุขภาพจิตรวม "ความเป็นอยู่ดีอัตวิสัย การก่อผลตนเองที่รับรู้ อัตตาณัติ ความสามารถ การพึ่งระหว่างรุ่นและความตระหนักในศักยภาพตนในด้านปัญญาและอารมณ์ ความเป็นอยู่ดีของปัจเจกบุคคลรวมอยู่ในการตระหนักถึงความสามารถของตน การจัดการกับความเครียดปกติของชีวิต การทำงานและการเข้ามีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ต่อชุมชน