หลักสูตรสำหรับเด็กปฐมวัยที่เน้นการพัฒนาพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้ / เยาวพา เดชะคุปต์

By: เยาวพา เดชะคุปต์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ทฤษฎีพหุปัญญา | หลักสูตร | การศึกษา -- หลักสูตร In: การศึกษาปฐมวัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (เมษายน 2545) หน้า 8-13Summary: พหุปัญญา หรือ ทฤษฎีพหุปัญญา เป็นทฤษฎีที่ศึกษาเกี่ยวกับสติปัญญาและการทำงานของสมองของมนุษย์ โดย โฮเวิร์ด การ์ดเน่อร์ เป็นผู้คิดขึ้น และโฮเวิร์ด มีความเชื่อว่าคนเรามีความสามารถหรือสติปัญญา 9 ด้าน แต่ละด้านอาจไม่เท่ากัน สติปัญญาทั้ง 9 ด้านนี้ได้แก่ สติปัญญาด้านภาษา, สติปัญญาด้านตรรกและคณิตศาสตร์, สติปัญญาด้านมิติสัมพันธ์, (มีต่อ)Summary: สติปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว, สติปัญญาทางด้านดนตรี/จังหวะ, สติปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์, สติปัญญาด้านตนเองหรือการเข้าใจตนเองและสติปัญญาด้านจิตพิสัยหรือจิตนิยม การพัฒนาหลักสูตรสำหรับเด็กปฐมวัยที่เน้นการพัฒนาพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ครูปฐมวัย (มีต่อ)Summary: สามารถกระทำได้เพียงเข้าใจหลักการของทฤษฎีพหุปัญญาที่เน้นว่าคนทุกคนมีความสามารถทางสติปัญญาหลากหลายถึง 9 ด้าน และแต่ละด้านสามารถพัฒนาได้พร้อมกัน สิ่งที่ครูควรปฏิบัติคือ (มีต่อ)Summary: จัดกิจกรรมที่พัฒนาพหุปัญญาทุกด้าน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ สำรวจ ค้นคว้า แก้ปัญหา เด็กจะสามารถเรียนรู้และพัฒนาพหุปัญญาได้ตามวัตถุประสงค์
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พหุปัญญา หรือ ทฤษฎีพหุปัญญา เป็นทฤษฎีที่ศึกษาเกี่ยวกับสติปัญญาและการทำงานของสมองของมนุษย์ โดย โฮเวิร์ด การ์ดเน่อร์ เป็นผู้คิดขึ้น และโฮเวิร์ด มีความเชื่อว่าคนเรามีความสามารถหรือสติปัญญา 9 ด้าน แต่ละด้านอาจไม่เท่ากัน สติปัญญาทั้ง 9 ด้านนี้ได้แก่ สติปัญญาด้านภาษา, สติปัญญาด้านตรรกและคณิตศาสตร์, สติปัญญาด้านมิติสัมพันธ์, (มีต่อ)

สติปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว, สติปัญญาทางด้านดนตรี/จังหวะ, สติปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์, สติปัญญาด้านตนเองหรือการเข้าใจตนเองและสติปัญญาด้านจิตพิสัยหรือจิตนิยม การพัฒนาหลักสูตรสำหรับเด็กปฐมวัยที่เน้นการพัฒนาพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้เป็นสิ่งที่ครูปฐมวัย (มีต่อ)

สามารถกระทำได้เพียงเข้าใจหลักการของทฤษฎีพหุปัญญาที่เน้นว่าคนทุกคนมีความสามารถทางสติปัญญาหลากหลายถึง 9 ด้าน และแต่ละด้านสามารถพัฒนาได้พร้อมกัน สิ่งที่ครูควรปฏิบัติคือ (มีต่อ)

จัดกิจกรรมที่พัฒนาพหุปัญญาทุกด้าน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ สำรวจ ค้นคว้า แก้ปัญหา เด็กจะสามารถเรียนรู้และพัฒนาพหุปัญญาได้ตามวัตถุประสงค์