แนวทางการบริหารแมลงศัตรูปาล์มน้ำมันบางชนิด / ทวีศักดิ์ ชโยภาส

By: ทวีศักดิ์ ชโยภาสCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ปาล์มน้ำมัน -- ศัตรูพืช | ศัตรูพืช -- การควบคุม | SCI-TECHSummary: ปาล์มน้ำมัน เป็นพืช เศรษฐกิจ ที่นำเข้ามาปลูก เป็นการค้า อย่างจริงจัง ในประเทศไทย เป็นเวลามากกว่า 30ปี มาแล้ว พื้นที่ปลูก ส่วนใหญ่ อยู่ทางภาคใต้ ปัจจุบันมีมากกว่า 1.2 ล้านไร่ และมีปลูกบ้างเล็กน้อย ทางภาคตะวันออก พื้นที่ปลูก มีขนาด ตั้งแต่ 1ไร่ ถึงหลายหมื่นไร่ (มีต่อ)Summary: เจ้าของสวนปาล์มน้ำมัน มีทั้งเกษตรกรรายย่อย เกษตรกรรายใหญ่ บริษัท กลุ่มสหกรณ์นิคม เป็นต้น ปัจจุบัน มีการรวบรวม แมลงศัตรูพืช ปาล์มน้ำมัน ในประเทศไทย ได้ทั้งหมด 63 ชนิด แบ่งออกเป็น ชนิดที่ทำลายใบ 49 ชนิด ทำลายผล 6 ชนิด และทำลายส่วนอื่นๆ ของต้นปาล์มน้ำมัน 8ชนิด แมลงที่จัดว่า สำคัญ จะเป็นพวก ที่ทำลายใบ (มีต่อ)Summary: โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หนอนของผีเสื้อ กลางคืน ในกลุ่มหนอนร่าน นอกจาก กลุ่มหนอนร่านแล้ว ยังมี แมลงที่สำคัญ อีกชนิดหนึ่งคือ ด้วงแรด ซึ่งเป็นแมลงศัตรู ที่สำคัญของมะพร้าวด้วย แนวทางการบริหาร หนอนหน้าแมว หรือ หนอนร่านกินใบ ชนิดอื่น คือ (มีต่อ)Summary: 1. ในสวนปาล์มน้ำมัน ควรมีเจ้าหน้าที่ หรือคนงาน ที่รู้จัก แมลงศัตรูปาล์มน้ำมัน และ แมลงห้ำ แมลงเบียน เป็นอย่างดี คนเหล่านี้จะต้อง ทำหน้าที่ สำรวจแมลง ภายในสวน เป็นประจำ เพื่อรู้บริเวณที่ แมลงเริ่มระบาด และจะได้ตัดสินใจ ป้องกัน กำจัด ได้ทันท่วงที 2. เกษตรกร ควรเรียนรู้ถึง พฤติกรรม ของแมลง เพื่อนำมาใช้ ในการป้องกันกำจัด (มีต่อ)Summary: 3.การใช้สารฆ่าแมลง ในกรณีมีการระบาด ของหนอนหน้าแมว ควรใช้สารฆ่าแมลง ดังนี้ carbaryl ,chalothrin L, cyfluthrin,trichlorfon,pirimiphosmethyl,permethrin,chtorpyrifos ในอัตราที่ทางราชการแนะนำ หรือ ถ้ามีการระบาดรุนแรง ใช้สารฆ่าแมลง ชนิดฝุ่นพ่น 4. ใช้แบคทีเรีย (มีต่อ)Summary: แนวทางการบริหารด้วงแรด ทำลายปาล์มน้ำมัน คือ กำจัดแหล่งขยายพันธุ์ เช่น ซากทะลายปาล์มน้ำมัน ที่เหลือจาก การสกัดน้ำมัน แล้ว จะต้องไม่กองทิ้งไว้เกิน 3เดือน ควรเกลี่ยให้กระจาย ให้มีความสูงประมาณ 15 ซม. ถ้าพบไข่หนอนดักแด้ ของด้วงแรด ควรจับมาทำลายเสีย แนวทางในการจัดการ แมลงศัตรูปาล์มน้ำมัน (มีต่อ)Summary: ควรเน้นเรื่อง การสำรวจแมลง ภายในสวน เป็นประจำ เพื่อจะได้ป้องกันกำจัด ได้ทันท่วงที การเลือกสารฆ่าแมลง ที่ไม่เป็นพิษต่อ แมลงห้ำ แมลงเบียน ตลอดจน การเรียนรู้ถึง พฤติกรรมของ แมลงศัตรู ปาล์มน้ำมัน แต่ละชนิด เป็นสิ่งจำเป็น ที่จะมาประยุกต์ใช้ ในการหาวิธี ป้องกันกำจัด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปาล์มน้ำมัน เป็นพืช เศรษฐกิจ ที่นำเข้ามาปลูก เป็นการค้า อย่างจริงจัง ในประเทศไทย เป็นเวลามากกว่า 30ปี มาแล้ว พื้นที่ปลูก ส่วนใหญ่ อยู่ทางภาคใต้ ปัจจุบันมีมากกว่า 1.2 ล้านไร่ และมีปลูกบ้างเล็กน้อย ทางภาคตะวันออก พื้นที่ปลูก มีขนาด ตั้งแต่ 1ไร่ ถึงหลายหมื่นไร่ (มีต่อ)

เจ้าของสวนปาล์มน้ำมัน มีทั้งเกษตรกรรายย่อย เกษตรกรรายใหญ่ บริษัท กลุ่มสหกรณ์นิคม เป็นต้น ปัจจุบัน มีการรวบรวม แมลงศัตรูพืช ปาล์มน้ำมัน ในประเทศไทย ได้ทั้งหมด 63 ชนิด แบ่งออกเป็น ชนิดที่ทำลายใบ 49 ชนิด ทำลายผล 6 ชนิด และทำลายส่วนอื่นๆ ของต้นปาล์มน้ำมัน 8ชนิด แมลงที่จัดว่า สำคัญ จะเป็นพวก ที่ทำลายใบ (มีต่อ)

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หนอนของผีเสื้อ กลางคืน ในกลุ่มหนอนร่าน นอกจาก กลุ่มหนอนร่านแล้ว ยังมี แมลงที่สำคัญ อีกชนิดหนึ่งคือ ด้วงแรด ซึ่งเป็นแมลงศัตรู ที่สำคัญของมะพร้าวด้วย แนวทางการบริหาร หนอนหน้าแมว หรือ หนอนร่านกินใบ ชนิดอื่น คือ (มีต่อ)

1. ในสวนปาล์มน้ำมัน ควรมีเจ้าหน้าที่ หรือคนงาน ที่รู้จัก แมลงศัตรูปาล์มน้ำมัน และ แมลงห้ำ แมลงเบียน เป็นอย่างดี คนเหล่านี้จะต้อง ทำหน้าที่ สำรวจแมลง ภายในสวน เป็นประจำ เพื่อรู้บริเวณที่ แมลงเริ่มระบาด และจะได้ตัดสินใจ ป้องกัน กำจัด ได้ทันท่วงที 2. เกษตรกร ควรเรียนรู้ถึง พฤติกรรม ของแมลง เพื่อนำมาใช้ ในการป้องกันกำจัด (มีต่อ)

3.การใช้สารฆ่าแมลง ในกรณีมีการระบาด ของหนอนหน้าแมว ควรใช้สารฆ่าแมลง ดังนี้ carbaryl ,chalothrin L, cyfluthrin,trichlorfon,pirimiphosmethyl,permethrin,chtorpyrifos ในอัตราที่ทางราชการแนะนำ หรือ ถ้ามีการระบาดรุนแรง ใช้สารฆ่าแมลง ชนิดฝุ่นพ่น 4. ใช้แบคทีเรีย (มีต่อ)

แนวทางการบริหารด้วงแรด ทำลายปาล์มน้ำมัน คือ กำจัดแหล่งขยายพันธุ์ เช่น ซากทะลายปาล์มน้ำมัน ที่เหลือจาก การสกัดน้ำมัน แล้ว จะต้องไม่กองทิ้งไว้เกิน 3เดือน ควรเกลี่ยให้กระจาย ให้มีความสูงประมาณ 15 ซม. ถ้าพบไข่หนอนดักแด้ ของด้วงแรด ควรจับมาทำลายเสีย แนวทางในการจัดการ แมลงศัตรูปาล์มน้ำมัน (มีต่อ)

ควรเน้นเรื่อง การสำรวจแมลง ภายในสวน เป็นประจำ เพื่อจะได้ป้องกันกำจัด ได้ทันท่วงที การเลือกสารฆ่าแมลง ที่ไม่เป็นพิษต่อ แมลงห้ำ แมลงเบียน ตลอดจน การเรียนรู้ถึง พฤติกรรมของ แมลงศัตรู ปาล์มน้ำมัน แต่ละชนิด เป็นสิ่งจำเป็น ที่จะมาประยุกต์ใช้ ในการหาวิธี ป้องกันกำจัด