การใช้สารสนเทศโดยธรรมในสังคมสารสนเทศ / สุนัสริน (หวังสุนทรชัย) บัวเลิศ

By: สุนัสริน (หวังสุนทรชัย) บัวเลิศCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): สารสนเทศ In: บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มข ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - กันยายน 2543) หน้า 5-10Summary: ในยุคแห่งสังคมสารสนเทศนี้ อินเทอร์เน็ตกลายเป็นแหล่งสารสนเทศที่สำคัญและได้รับความนิยมอย่างสูง เนื่องจากเหตุผลหลายๆ ประการ อีกทั้งสารสนเทศที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตนั้นสามารถเข้าถึง นำมาใช้ หรือจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลเพื่อการใช้งานในภายหน้าได้อย่างง่ายดาย ด้วยเหตุที่อินเทอร์เน็ตมีจำนวนสารสนเทศมากมาย (มีต่อ)Summary: และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนยากที่จะติดตามจึงก่อให้เกิดปัญหา เรื่องการใช้งานของสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตที่ถูกต้องและเป็นธรรมแก่เจ้าของผลงาน สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตจึงกลายมาเป็นประเด็นที่ท้าทายกฎหมายลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญหา เนื่องจากสามารถเข้าถึงและเลือกใช้ได้โดยอิสระ (มีต่อ)Summary: ไม่สามารถควบคุมการอ้างถึงหรือการเข้าถึงของสารสนเทศนั้นได้ นอกจากนี้การนำสารสนเทศไปใช้งานยังยากที่จะตรวจสอบว่าเป็นผลงานของผู้เขียนนั้นๆ หรือเป็นการลอกเลียนคัดลอก แอบอ้างผลงานแนวคิดผู้อื่นมาเป็นของตนหรือไม่ ดังนั้นการอ้างถึงแหล่งที่มา หรือแนวคิดให้ผู้อื่นรับทราบนั้น นอกจากจะเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน แล้วยังสร้างบรรทักฐานจริยธรรมที่ดีงามในวงวิชาการ ทั้งยังเป็นการสร้างความภูมิใจแก่ผลงานของตนด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในยุคแห่งสังคมสารสนเทศนี้ อินเทอร์เน็ตกลายเป็นแหล่งสารสนเทศที่สำคัญและได้รับความนิยมอย่างสูง เนื่องจากเหตุผลหลายๆ ประการ อีกทั้งสารสนเทศที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ตนั้นสามารถเข้าถึง นำมาใช้ หรือจัดเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลเพื่อการใช้งานในภายหน้าได้อย่างง่ายดาย ด้วยเหตุที่อินเทอร์เน็ตมีจำนวนสารสนเทศมากมาย (มีต่อ)

และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนยากที่จะติดตามจึงก่อให้เกิดปัญหา เรื่องการใช้งานของสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ตที่ถูกต้องและเป็นธรรมแก่เจ้าของผลงาน สารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตจึงกลายมาเป็นประเด็นที่ท้าทายกฎหมายลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญหา เนื่องจากสามารถเข้าถึงและเลือกใช้ได้โดยอิสระ (มีต่อ)

ไม่สามารถควบคุมการอ้างถึงหรือการเข้าถึงของสารสนเทศนั้นได้ นอกจากนี้การนำสารสนเทศไปใช้งานยังยากที่จะตรวจสอบว่าเป็นผลงานของผู้เขียนนั้นๆ หรือเป็นการลอกเลียนคัดลอก แอบอ้างผลงานแนวคิดผู้อื่นมาเป็นของตนหรือไม่ ดังนั้นการอ้างถึงแหล่งที่มา หรือแนวคิดให้ผู้อื่นรับทราบนั้น นอกจากจะเป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน แล้วยังสร้างบรรทักฐานจริยธรรมที่ดีงามในวงวิชาการ ทั้งยังเป็นการสร้างความภูมิใจแก่ผลงานของตนด้วย