ขอนิยาม "ฮั้ว" ขีดเส้นตีกรอบให้ชัด

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): กฎหมายฮั้ว | SCI-TECH In: ข่าวช่าง ปีที่ 21 ฉับบที่ 333 (มกราคม 2543) หน้า 31 - 32Summary: ในที่สุดพระราชบัญญัติ ว่าด้วย ความผิดเกี่ยวกับ การเสนอราคา ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 หรือเรียกว่า "กฏหมายฮั้ว" ก็ประกาศใช้แล้ว เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 กฏหมาย ฉบับนี้ มีบทลงโทษ ที่รุนแรงทั้งผู้ให้ และผู้รับ มีบทลงโทษ แบบครบวงจร (มีต่อ)Summary: ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ต่างมีความผิด ด้วยกันทั้งสิ้น สำหรับวงการผู้รับเหมานั้น สุทิน ศิวะมาศ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สุวลี จำกัด ในฐานะกรรมการประจำภาคกลาง ของสมาคมอุตสาหกรรม ก่อสร้างไทย ได้แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่อง พระราชบัญญัติว่าSummary: กฏหมายฉบับนี้ยังไม่มี ความสมบูรณ์ เพราะกฏหมายฉบับนี้ ไม่ได้เขียน นิยามของคำว่า "สมยอม" หรือ "ฮั้ว" ไว้ว่า "ฮั้ว" คืออะไร หรือการกระทำสิ่งใด ที่เรียกว่าเป็นการ สมยอมฯ หรือการกระทำอะไร ที่ไม่เรียกว่า เป็นการสมยอม ฉะนั้นควรจะต้องมีการแก้ไข เพิ่มเติม ข้อกฏหมายSummary: โดยเขียนระบุ ให้แน่ชัดว่า "การกระทำใดบ้างที่เป็นการสมยอม " แต่การที่จะไปแก้ไข เพิ่มเติมกฏหมาย คงจะต้องเป็นสิ่งที่ยาก และลำบาก และที่สำคัญคงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นควรจะ เขียนเพิ่มเติมหรือระบุไว้ ในระเบียบSummary: สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ฯแทน เพราะอย่างน้อย ก็เป็นข้อมูล ที่ผู้ประกอบการ พอที่จะนำไปอ้างอิงได้บ้าง หากมีการฟ้องร้อง กันตาม กฏหมายฉบับนี้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ในที่สุดพระราชบัญญัติ ว่าด้วย ความผิดเกี่ยวกับ การเสนอราคา ต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 หรือเรียกว่า "กฏหมายฮั้ว" ก็ประกาศใช้แล้ว เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 กฏหมาย ฉบับนี้ มีบทลงโทษ ที่รุนแรงทั้งผู้ให้ และผู้รับ มีบทลงโทษ แบบครบวงจร (มีต่อ)

ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ต่างมีความผิด ด้วยกันทั้งสิ้น สำหรับวงการผู้รับเหมานั้น สุทิน ศิวะมาศ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สุวลี จำกัด ในฐานะกรรมการประจำภาคกลาง ของสมาคมอุตสาหกรรม ก่อสร้างไทย ได้แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่อง พระราชบัญญัติว่า

กฏหมายฉบับนี้ยังไม่มี ความสมบูรณ์ เพราะกฏหมายฉบับนี้ ไม่ได้เขียน นิยามของคำว่า "สมยอม" หรือ "ฮั้ว" ไว้ว่า "ฮั้ว" คืออะไร หรือการกระทำสิ่งใด ที่เรียกว่าเป็นการ สมยอมฯ หรือการกระทำอะไร ที่ไม่เรียกว่า เป็นการสมยอม ฉะนั้นควรจะต้องมีการแก้ไข เพิ่มเติม ข้อกฏหมาย

โดยเขียนระบุ ให้แน่ชัดว่า "การกระทำใดบ้างที่เป็นการสมยอม " แต่การที่จะไปแก้ไข เพิ่มเติมกฏหมาย คงจะต้องเป็นสิ่งที่ยาก และลำบาก และที่สำคัญคงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นควรจะ เขียนเพิ่มเติมหรือระบุไว้ ในระเบียบ

สำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ ฯแทน เพราะอย่างน้อย ก็เป็นข้อมูล ที่ผู้ประกอบการ พอที่จะนำไปอ้างอิงได้บ้าง หากมีการฟ้องร้อง กันตาม กฏหมายฉบับนี้