ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) พลังานสะอาด / การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย

By: การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ก๊าซธรรมชาติ | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2543) หน้า 104 - 107Summary: ก๊าซธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิง ปิโตรเลียม ที่มีคุณสมบัติ ที่เหมาะสม กับสภาวะแวดล้อมมากที่สุด และสามารถนำมาใช้ ประโยชน์ได้นานัปการ ทั้งเป็นเชื้อเพลิง คุณภาพดีและใช้เป็นวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี การขยายตัวอย่างรวดเร็ว ของอุตสาหกรรมต่างๆ (มีต่อ)Summary: ในปัจจุบัน ส่งให้ผลให้แนวโน้ม การใช้ประโยชน์ จากก๊าซธรรมชาติ ทวีสูงขึ้น เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ก๊าซธรรมชาติ เป็นทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัด การนำก๊าซธรรมชาติ ไปใช้ด้วยวัตถุประสงค์ต่างๆ จึงควรคำนึง ถึงประโยชน์สูงสุด ก๊าซธรรมชาติ เป็นปิโตรเลียม (มีต่อ)Summary: หรือสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วย ธาตุไฮโดเจนและคาร์บอน ที่เกิดจากการทับถม ของซากพืชและสัตว์ จำพวกจุลินทรีย์ ที่อาศัยอยู่ ในโลกมา หลายร้อยล้านปี ซึ่งแปรสภาพเป็นก๊าซ และน้ำมัน เนื่องจากความร้อน และความกดดัน (มีต่อ)Summary: ของผิวโลก ที่สะสมอยู่ ในชั้นดิน คุณสมบัติทางกายภาพ ของก๊าซธรรมชาติ คือ 1.ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น 2.เบากว่าอากาศ 3.เป็นเชื้อเพลิงสะอาด เผาไหม้สมบูรณ์กว่า แหล่งก๊าซธรรมชาติ ส่วนใหญ่อยู่ใน กลุ่มประเทศอดีต สหภาพโซเวียต ถึง 2,003 ล้านลูกบาศก์ฟุต (มีต่อ)Summary: นอกนั้นกระจายอยู่ ตามประเทศต่างๆ โดยเฉาพะในกลุ่มประเทศ ตะวันออกกลาง แอฟริกา และกลุ่มประเทศเอเชีย-แปซิฟิก เป็นต้น สำหรับประเทศไทย มีการสำรวจพบ ก๊าซธรรมชาติ ที่มีปริมาณมากพอ ในเชิงพาณิชย์ ในอ่าวไทย เมื่อปี พ.ศ.2516 (มีต่อ)Summary: และพบก๊าซธรรมชาติ ที่แหล่งน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เมื่อปี พ.ศ.2524 โดยปัจจุบัน ปริมาณสำรอง ก๊าซธรรมชาติ ที่สำรวจพบแล้ว ในประเทศไทย มีประมาณ 12 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต โดยส่วนใหญ่ อยู่ในอ่าวไทย การขนส่งก๊าซธรรมชาติ (มีต่อ)Summary: ทางท่อนับเป็น ระบบการขนส่ง ที่ปลอดภัยที่สุด เนื่องจากแยกออกออกต่างหาก จากการขนส่งมวลชนอื่นๆ จึงลดความเสี่ยง ของการเกิดอุบัติเหตุ ลดจำนวนการใช้รภบรรทุกขนส่ง และลดมลพิษ ทางอากาศ จากการใช้รถบรรทุก ขนส่งอีกด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ก๊าซธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิง ปิโตรเลียม ที่มีคุณสมบัติ ที่เหมาะสม กับสภาวะแวดล้อมมากที่สุด และสามารถนำมาใช้ ประโยชน์ได้นานัปการ ทั้งเป็นเชื้อเพลิง คุณภาพดีและใช้เป็นวัตถุดิบ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี การขยายตัวอย่างรวดเร็ว ของอุตสาหกรรมต่างๆ (มีต่อ)

ในปัจจุบัน ส่งให้ผลให้แนวโน้ม การใช้ประโยชน์ จากก๊าซธรรมชาติ ทวีสูงขึ้น เป็นอย่างมาก อย่างไรก็ดี ก๊าซธรรมชาติ เป็นทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัด การนำก๊าซธรรมชาติ ไปใช้ด้วยวัตถุประสงค์ต่างๆ จึงควรคำนึง ถึงประโยชน์สูงสุด ก๊าซธรรมชาติ เป็นปิโตรเลียม (มีต่อ)

หรือสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ประกอบด้วย ธาตุไฮโดเจนและคาร์บอน ที่เกิดจากการทับถม ของซากพืชและสัตว์ จำพวกจุลินทรีย์ ที่อาศัยอยู่ ในโลกมา หลายร้อยล้านปี ซึ่งแปรสภาพเป็นก๊าซ และน้ำมัน เนื่องจากความร้อน และความกดดัน (มีต่อ)

ของผิวโลก ที่สะสมอยู่ ในชั้นดิน คุณสมบัติทางกายภาพ ของก๊าซธรรมชาติ คือ 1.ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น 2.เบากว่าอากาศ 3.เป็นเชื้อเพลิงสะอาด เผาไหม้สมบูรณ์กว่า แหล่งก๊าซธรรมชาติ ส่วนใหญ่อยู่ใน กลุ่มประเทศอดีต สหภาพโซเวียต ถึง 2,003 ล้านลูกบาศก์ฟุต (มีต่อ)

นอกนั้นกระจายอยู่ ตามประเทศต่างๆ โดยเฉาพะในกลุ่มประเทศ ตะวันออกกลาง แอฟริกา และกลุ่มประเทศเอเชีย-แปซิฟิก เป็นต้น สำหรับประเทศไทย มีการสำรวจพบ ก๊าซธรรมชาติ ที่มีปริมาณมากพอ ในเชิงพาณิชย์ ในอ่าวไทย เมื่อปี พ.ศ.2516 (มีต่อ)

และพบก๊าซธรรมชาติ ที่แหล่งน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เมื่อปี พ.ศ.2524 โดยปัจจุบัน ปริมาณสำรอง ก๊าซธรรมชาติ ที่สำรวจพบแล้ว ในประเทศไทย มีประมาณ 12 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต โดยส่วนใหญ่ อยู่ในอ่าวไทย การขนส่งก๊าซธรรมชาติ (มีต่อ)

ทางท่อนับเป็น ระบบการขนส่ง ที่ปลอดภัยที่สุด เนื่องจากแยกออกออกต่างหาก จากการขนส่งมวลชนอื่นๆ จึงลดความเสี่ยง ของการเกิดอุบัติเหตุ ลดจำนวนการใช้รภบรรทุกขนส่ง และลดมลพิษ ทางอากาศ จากการใช้รถบรรทุก ขนส่งอีกด้วย