ความปลอดภัยในการทำงานสำหรับผู้บริหาร / กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน.

By: กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม | SCI-TECH In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม 2543) หน้า 100 - 101Summary: อุบัติเหตุเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น จากการพัฒนา เนื่องจากที่ผ่านมา ในอดีต ขาดมาตรการป้องกันที่ดี ซึ่งถือว่าผู้รับผิดชอบสูงขึ้นเรื่อยๆ เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า สาเหตุสำคัญ ของการเกิดอุบัติเหตุนั้น เกิดจาก 2 กรณี ใหญ่ๆเพียง 2ประการคือ สภาพที่ไม่ปลอดภัย (มีต่อ)Summary: และอีกประการหนึ่งคือ การกระทำที่ไม่ปลอดภัย หน่วยงานใดก็ตาม ที่ละเลยต่อสองประการ ที่กล่าวมาแล้ว ย่อมเป็นการเปิดโอกาส ให้เกิดอุบัติเหตุ ได้โดยง่าย ความรู้สึกรับผิดชอบ ของผู้บริหาร ถือว่าสำคัญที่สุด ในการที่จะทำให้ เกิดความปลอดภัย ผู้บริหารจะต้องมี (มีต่อ)Summary: จิตสำนึก ให้ความสนใจ และพยายาม เสริมสร้าง สนับสนุน ให้เป็นนิสัย ทุกขั้นตอน ของการทำงาน ทั้งในด้านการควบคุม กำกับ ดูแลสภาพการทำงาน รวมถึงพฤติกรรม ของผู้ปฏิบัติงาน ฉะนั้นบทบาท ของผู้บริหาร จึงมีความสำคัญ เป็นอย่างมาก (มีต่อ)Summary: ซึ่งอาจแบ่งได้ 3 ประการ คือ 1.ความรับผิดชอบ งานทุกอย่าง ย่อมไม่บังเกิดผล หากผู้บริหาร ไม่มีความรู้สึกสนใจ และรับผิดชอบ 2.การกำหนดนโยบาย ผู้บริหารจะต้อง มีความตั้งใจ อย่างจริงจัง เพื่อให้ประสบผลสำเร็จ ในด้านความปลอดภัย ในการทำงาน (มีต่อ)Summary: ด้วยการกำหนดนโบาย ให้ชัดเจน 3.การมอบอำนาจ เมื่อผู้บริหาร ได้กำหนดนโบายแล้ว จะต้องมอบอำนาจ ความรับผิดชอบ ให้มีการกระจาย ไปถึงระดับปฏิบัติการ ทุกจุด เช่น 1.ในสายงานบังคับบัญชา ในระดับนี้ มักจะมีความใกล้ชิด กับผู้ปฏิบัติงาน เช่น (มีต่อ)Summary: หัวหน้าแผนก หัวหน้าหมวด หรือผู้ควบคุมงาน บุคคลเหล่านี้ เป็นส่วนสำคัญ ที่สุดที่จะรู้ถึง ปัญหาต่างๆ และสามารถช่วยให้งาน ด้านความปลอดภัย ในการทำงาน ประสบผลสำเร็จ 2.ในหน่วยงาน staff ในบางหน่วยงาน จำเเป็นจะต้องมี (มีต่อ)Summary: ผู้เชี่ยวชาญ ในด้านการป้องกันอุบัติเหตุ ซึ่งอาจจะมีการส่งเสริม ให้มีหน่วยงาน โดยเฉพาะ เช่น หน่วยความปลอดภัย ในการทำงาน ซึ่งจะประกอบด้วย วิศวกร หรือหัวหน้าแผนก เป็นผู้ดำเนินการ ตามนโยบาย ที่ผู้บริหาร ได้กำหนดเป็นโยบาย และมอบอำนาจลงมา
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

อุบัติเหตุเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น จากการพัฒนา เนื่องจากที่ผ่านมา ในอดีต ขาดมาตรการป้องกันที่ดี ซึ่งถือว่าผู้รับผิดชอบสูงขึ้นเรื่อยๆ เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า สาเหตุสำคัญ ของการเกิดอุบัติเหตุนั้น เกิดจาก 2 กรณี ใหญ่ๆเพียง 2ประการคือ สภาพที่ไม่ปลอดภัย (มีต่อ)

และอีกประการหนึ่งคือ การกระทำที่ไม่ปลอดภัย หน่วยงานใดก็ตาม ที่ละเลยต่อสองประการ ที่กล่าวมาแล้ว ย่อมเป็นการเปิดโอกาส ให้เกิดอุบัติเหตุ ได้โดยง่าย ความรู้สึกรับผิดชอบ ของผู้บริหาร ถือว่าสำคัญที่สุด ในการที่จะทำให้ เกิดความปลอดภัย ผู้บริหารจะต้องมี (มีต่อ)

จิตสำนึก ให้ความสนใจ และพยายาม เสริมสร้าง สนับสนุน ให้เป็นนิสัย ทุกขั้นตอน ของการทำงาน ทั้งในด้านการควบคุม กำกับ ดูแลสภาพการทำงาน รวมถึงพฤติกรรม ของผู้ปฏิบัติงาน ฉะนั้นบทบาท ของผู้บริหาร จึงมีความสำคัญ เป็นอย่างมาก (มีต่อ)

ซึ่งอาจแบ่งได้ 3 ประการ คือ 1.ความรับผิดชอบ งานทุกอย่าง ย่อมไม่บังเกิดผล หากผู้บริหาร ไม่มีความรู้สึกสนใจ และรับผิดชอบ 2.การกำหนดนโยบาย ผู้บริหารจะต้อง มีความตั้งใจ อย่างจริงจัง เพื่อให้ประสบผลสำเร็จ ในด้านความปลอดภัย ในการทำงาน (มีต่อ)

ด้วยการกำหนดนโบาย ให้ชัดเจน 3.การมอบอำนาจ เมื่อผู้บริหาร ได้กำหนดนโบายแล้ว จะต้องมอบอำนาจ ความรับผิดชอบ ให้มีการกระจาย ไปถึงระดับปฏิบัติการ ทุกจุด เช่น 1.ในสายงานบังคับบัญชา ในระดับนี้ มักจะมีความใกล้ชิด กับผู้ปฏิบัติงาน เช่น (มีต่อ)

หัวหน้าแผนก หัวหน้าหมวด หรือผู้ควบคุมงาน บุคคลเหล่านี้ เป็นส่วนสำคัญ ที่สุดที่จะรู้ถึง ปัญหาต่างๆ และสามารถช่วยให้งาน ด้านความปลอดภัย ในการทำงาน ประสบผลสำเร็จ 2.ในหน่วยงาน staff ในบางหน่วยงาน จำเเป็นจะต้องมี (มีต่อ)

ผู้เชี่ยวชาญ ในด้านการป้องกันอุบัติเหตุ ซึ่งอาจจะมีการส่งเสริม ให้มีหน่วยงาน โดยเฉพาะ เช่น หน่วยความปลอดภัย ในการทำงาน ซึ่งจะประกอบด้วย วิศวกร หรือหัวหน้าแผนก เป็นผู้ดำเนินการ ตามนโยบาย ที่ผู้บริหาร ได้กำหนดเป็นโยบาย และมอบอำนาจลงมา