วิสัยทัศน์ รัฐบาลไทยต่อการผลิตระดับมาตรฐานโลก

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ | ไทย -- การค้าระหว่างประเทศ In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7ฉบับที่ 1(มกราคม 2543 ) หน้า 81 - 83Summary: จากสภาวะวิกฤต ที่ประเทศไทย ได้ประสบ ได้ให้บทเรียน ถึงความจำเป็น ของการสร้างตนเอง ให้มีความสามารถ และความแข็งแกร่ง เพื่อสามารถยืนหยัดอยู่ได้ และอยู่อย่างมั่นคง การจะสร้าง ตนเองให้มีความแข็งแกร่ง (มีต่อ)Summary: โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาค อุตสาหกรรม จำเป็นต้องมี โครงสร้างพื้นฐาน ที่แข็งแกร่ง การก่อตั้ง องค์การค้าโลก เพื่อจัดระเบียบ การค้าโลกใหม่ มุ่งเน้นให้การค้าสากล เป็นไปอย่างไร้พรมแดน มีความโปร่งใส แข่งขันกันอย่างเสรี (มีต่อ)Summary: โดยอยู่บนพื้น ของความชอบธรรมนั้น ได้มีข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องกับ กติกา สากล ด้านมาตรฐาน 2 ฉบับ คือ 1.ความตกลง ด้านอุปสรรค ทางเทคนิคต่อการค้า ซึ่งมีขอบข่ายครอบคลุม ทั้งสินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าเกษตร (ยกเว้นด้านสุขอนามัย) (มีต่อ)Summary: 2. ความตกลง ด้านมาตรการสุขอนามัย คน สัตว์ และพืช ซึ่งมีขอบข่าย ครอบคลุม สุขอนามัย ด้านอาหาร คน สัตว์ และพืช ความตกลง 2 ฉบับนี้ ประเทศสมาชิก รวมทั้งประเทศไทย ต้องยึดถือปฏิบัติตามกรอบ ที่กำหนด (มีต่อ)Summary: ปัจจุบันมาตรฐาน ขององค์กรสากล ที่มีบทบาทเกี่ยวพัน กับความตกลง ของ องค์การการค้าโลก จะป็น 1.มาตรฐาน ISO (ISO เป็นชื่อของ องค์กร มาจากภาษากรีก แปลว่า "เท่าเทียมกัน") ซึ่งมีขอบข่าย ครอบคลุมทุกสาขา (มีต่อ)Summary: ยกเว้นไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และอาหาร 2.มาตรฐาน IEC (International Electrotechnical Commission) มีขอบข่าย ครอบคลุมเฉพาะ ไฟฟ้าและอิเล็กทร อนิกส์ 3.มาตรฐาน Codex (Codex Alimentarius-food Code) (มีต่อ)Summary: ซึ่งเป็นโครงการร่วม ด้านมาตรฐานอาหารของ FAO และ WTO มาตรฐานของ Codex มีขอบข่าย เฉพาะด้านอาหาร ของประเทศไทย โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้เป็นสมาชิกของทั้ง 3องค์กร และรับมาตรฐาน ของทั้ง 3 องค์กร (มีต่อ)Summary: มาเป็นมาตรฐาน ของประเทศ เพื่อเป็นแนวทาง ในการผลิตของภาคเอกชน เพื่อการแข่งขัน ในเวทีโลก กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ตระหนักดี ถึงความสำคัญ ของ มาตรฐาน ในเวทีการค้าโลก และประโยชน์ ที่เกิดขึ้น (มีต่อ)Summary: ทำให้ภาคอุตสาหกรรม และต่อเศรษฐกิจ ของประเทศไทยส่วนรวม กระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้ใช้ทุกมาตรฐาน ในการส่งเสริม และช่วยเหลือ ให้ภาคเอกชน มีความพร้อม และความแข็งแกร่ง สามารถแข่งขัน ต่อสู้ได้ทุกเวที และตลอดเวลา (มีต่อ)Summary: ในขณะเดียวกัน ภาคเอกชน ก็ควรได้ร่วมมือ กับภาครัฐ และเตรียมตัว เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะ ในช่วงเวลานี้ ประเทศไทย เป็นประเทศ ที่มีศักยภาพ และแข็งแกร่งได้ หากทุกคน มีส่วนร่วม ในการพัฒนาระบบ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จากสภาวะวิกฤต ที่ประเทศไทย ได้ประสบ ได้ให้บทเรียน ถึงความจำเป็น ของการสร้างตนเอง ให้มีความสามารถ และความแข็งแกร่ง เพื่อสามารถยืนหยัดอยู่ได้ และอยู่อย่างมั่นคง การจะสร้าง ตนเองให้มีความแข็งแกร่ง (มีต่อ)

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาค อุตสาหกรรม จำเป็นต้องมี โครงสร้างพื้นฐาน ที่แข็งแกร่ง การก่อตั้ง องค์การค้าโลก เพื่อจัดระเบียบ การค้าโลกใหม่ มุ่งเน้นให้การค้าสากล เป็นไปอย่างไร้พรมแดน มีความโปร่งใส แข่งขันกันอย่างเสรี (มีต่อ)

โดยอยู่บนพื้น ของความชอบธรรมนั้น ได้มีข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องกับ กติกา สากล ด้านมาตรฐาน 2 ฉบับ คือ 1.ความตกลง ด้านอุปสรรค ทางเทคนิคต่อการค้า ซึ่งมีขอบข่ายครอบคลุม ทั้งสินค้าอุตสาหกรรม และสินค้าเกษตร (ยกเว้นด้านสุขอนามัย) (มีต่อ)

2. ความตกลง ด้านมาตรการสุขอนามัย คน สัตว์ และพืช ซึ่งมีขอบข่าย ครอบคลุม สุขอนามัย ด้านอาหาร คน สัตว์ และพืช ความตกลง 2 ฉบับนี้ ประเทศสมาชิก รวมทั้งประเทศไทย ต้องยึดถือปฏิบัติตามกรอบ ที่กำหนด (มีต่อ)

ปัจจุบันมาตรฐาน ขององค์กรสากล ที่มีบทบาทเกี่ยวพัน กับความตกลง ของ องค์การการค้าโลก จะป็น 1.มาตรฐาน ISO (ISO เป็นชื่อของ องค์กร มาจากภาษากรีก แปลว่า "เท่าเทียมกัน") ซึ่งมีขอบข่าย ครอบคลุมทุกสาขา (มีต่อ)

ยกเว้นไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และอาหาร 2.มาตรฐาน IEC (International Electrotechnical Commission) มีขอบข่าย ครอบคลุมเฉพาะ ไฟฟ้าและอิเล็กทร อนิกส์ 3.มาตรฐาน Codex (Codex Alimentarius-food Code) (มีต่อ)

ซึ่งเป็นโครงการร่วม ด้านมาตรฐานอาหารของ FAO และ WTO มาตรฐานของ Codex มีขอบข่าย เฉพาะด้านอาหาร ของประเทศไทย โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้เป็นสมาชิกของทั้ง 3องค์กร และรับมาตรฐาน ของทั้ง 3 องค์กร (มีต่อ)

มาเป็นมาตรฐาน ของประเทศ เพื่อเป็นแนวทาง ในการผลิตของภาคเอกชน เพื่อการแข่งขัน ในเวทีโลก กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ตระหนักดี ถึงความสำคัญ ของ มาตรฐาน ในเวทีการค้าโลก และประโยชน์ ที่เกิดขึ้น (มีต่อ)

ทำให้ภาคอุตสาหกรรม และต่อเศรษฐกิจ ของประเทศไทยส่วนรวม กระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้ใช้ทุกมาตรฐาน ในการส่งเสริม และช่วยเหลือ ให้ภาคเอกชน มีความพร้อม และความแข็งแกร่ง สามารถแข่งขัน ต่อสู้ได้ทุกเวที และตลอดเวลา (มีต่อ)

ในขณะเดียวกัน ภาคเอกชน ก็ควรได้ร่วมมือ กับภาครัฐ และเตรียมตัว เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะ ในช่วงเวลานี้ ประเทศไทย เป็นประเทศ ที่มีศักยภาพ และแข็งแกร่งได้ หากทุกคน มีส่วนร่วม ในการพัฒนาระบบ