การศึกษาวิจัยเรื่องการสำรองน้ำมันทางยุทธศาสตร์ของประเทศ

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | น้ำมัน | ไทย -- น้ำมัน In: นโยบายพลังงาน ฉบับที่ 43 (มกราคม - มีนาคม 2542) หน้า 18-21Summary: ปัจจุบันทางสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) กับการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ได้กำลังอยู่ระหว่างการศึกษาถึงแนวทางและความเป็นไปได้ในการสำรองน้ำมันของประเทศที่เหมาะสมในระยะยาวเพื่อเพิ่มความมั่นคงในด้านพลังงานของประเทศ โดยได้ว่าจ้างบริษัท BECHTEL INTERNATIONAL เข้ามาทำการศึกษาและคาดว่าจะแล้วเสร็จในกลางปี พ.ศ. 2542 (มีต่อ)Summary: สำหรับวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาคือ 1.เพื่อศึกษาถึงแนวทางการสำรองน้ำมันที่เหมาะสม 2.เพื่อศึกษาถึงต้นทุนและผลตอบแทน ประกอบกับผลกระทบจากการสำรองน้ำมันทางยุทธศาสตร์ต่อภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรวมอันเนื่องมาจากการสร้างคลังสำรองน้ำมันและจากการสำรองน้ำมันเองด้วย 3.เพื่อพัฒนาระเบียบการและนโยบายต่างๆ (มีต่อ)Summary: เพื่อที่จะนำไปใช้หรือป้องกันผลกระทบอันเนื่องมาจากวิกฤตการณ์น้ำมัน 4.เพื่อชี้แจงและเสนอแนะให้กับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 5.เพื่ออธิบายผลกระทบของการศึกษา (ผลดีและผลเสีย) ต่อผู้ที่ได้รับผลประโยชน์โดยตรงและต่อผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ทางอ้อม และผลข้างเคียงของการสำรองน้ำมัน (มีต่อ)Summary: 6.เพื่อพัฒนาและเสนอแนะถึงระยะเวลาของการสำรองน้ำมันอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งเป็นผลทำให้การสำรองน้ำมันมีประสิทธิภาพสูงสุด 7.เพื่อกำหนดและเสนอแนะแนวทางการสำรองน้ำมันเพื่อที่จะนำไปใช้ได้ในอนาคต อย่างไรก็ตาม การศึกษาดังกล่าวนั้นยังรวมไปถึงการศึกษาถึงแนวทางการร่วมมือในการสำรองน้ำมันระหว่างประเทศเพื่อเพิ่มความมั่นคงทางด้านพลังงานในภูมิภาคอีกด้วย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบันทางสำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (สพช.) กับการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ได้กำลังอยู่ระหว่างการศึกษาถึงแนวทางและความเป็นไปได้ในการสำรองน้ำมันของประเทศที่เหมาะสมในระยะยาวเพื่อเพิ่มความมั่นคงในด้านพลังงานของประเทศ โดยได้ว่าจ้างบริษัท BECHTEL INTERNATIONAL เข้ามาทำการศึกษาและคาดว่าจะแล้วเสร็จในกลางปี พ.ศ. 2542 (มีต่อ)

สำหรับวัตถุประสงค์หลักของการศึกษาคือ 1.เพื่อศึกษาถึงแนวทางการสำรองน้ำมันที่เหมาะสม 2.เพื่อศึกษาถึงต้นทุนและผลตอบแทน ประกอบกับผลกระทบจากการสำรองน้ำมันทางยุทธศาสตร์ต่อภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรวมอันเนื่องมาจากการสร้างคลังสำรองน้ำมันและจากการสำรองน้ำมันเองด้วย 3.เพื่อพัฒนาระเบียบการและนโยบายต่างๆ (มีต่อ)

เพื่อที่จะนำไปใช้หรือป้องกันผลกระทบอันเนื่องมาจากวิกฤตการณ์น้ำมัน 4.เพื่อชี้แจงและเสนอแนะให้กับองค์กรที่เกี่ยวข้อง 5.เพื่ออธิบายผลกระทบของการศึกษา (ผลดีและผลเสีย) ต่อผู้ที่ได้รับผลประโยชน์โดยตรงและต่อผู้ที่ได้รับผลประโยชน์ทางอ้อม และผลข้างเคียงของการสำรองน้ำมัน (มีต่อ)

6.เพื่อพัฒนาและเสนอแนะถึงระยะเวลาของการสำรองน้ำมันอย่างเป็นขั้นตอน ซึ่งเป็นผลทำให้การสำรองน้ำมันมีประสิทธิภาพสูงสุด 7.เพื่อกำหนดและเสนอแนะแนวทางการสำรองน้ำมันเพื่อที่จะนำไปใช้ได้ในอนาคต อย่างไรก็ตาม การศึกษาดังกล่าวนั้นยังรวมไปถึงการศึกษาถึงแนวทางการร่วมมือในการสำรองน้ำมันระหว่างประเทศเพื่อเพิ่มความมั่นคงทางด้านพลังงานในภูมิภาคอีกด้วย