มจธ. จับมือไอบีเอ็ม เปิดโลก Digital Library จุดประกายให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง / สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

By: สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ห้องสมุดอัตโนมัติ | เทคโนโลยีสารสนเทศ In: วิศวกรรมสาร ปีที่ 53 ฉบับที่4 (เมษายน 2543) หน้า 57 - 60Summary: ผลพวงจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทำให้ห้องสมุดต้องเปลี่ยนไปเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มีฐานข้อมูลที่ส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้านักวิจัยของนักวิจัยในมหาวิทยาลัยให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นที่มาของโครงการ Digital Library ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับบริษัทไอบีเอ็มประเทศไทย จำกัด จัดทำเป็นแห่งแรกของสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ดร.บัณฑิต ทิพากร อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในฐานะหัวหน้าโครงการ Digital Library สำนักหอสมุดและบรรณสารสนเทศ (มีต่อ)Summary: กล่าวถึงการปรับตัวของมหาวิทยาลัยในไทยว่า เมื่อระบบเสรีและอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ทำให้มหาวิทยาลัยต่างชาติเข้ามาในไทยมาก มหาวิทยาลัยในไทยจึงไม่ได้แข่งเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น ยังต้องแข่งกับต่างชาติ ที่คาดว่าจะมีมากขึ้นในอนาคต หลายมหาวิทยาลัยจึงเริ่มปรับเปลี่ยนระบบการเรียนการสอนที่สอนใช้งานเฉพาะในมหาวิทยาลัยมาผลิตโปรแกรมและ Distribute หลักสูตรต่างๆ ครบวงจรเป็นการ Ultilize ระบบเน็ตเวิร์ก www. โดยนำประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้ (มีต่อ)Summary: ให้มีความ Flexible และรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่มหาวิทยาลัยในอนาคตต้องมี Digital Library คือการจัดเก็บข้อมูลมัลติมีเดียขนาดใหญ่ โดยที่ข้อมูลต่างๆ จะอยู่ใน Digital Format มีการจัดเก็บ (Organize) เป็นคอลเล็กชั่นส่วนตัว ของห้องสมุดนั้นๆ ซึ่งเป็นส่วนที่สำคัญ และข้อมูลที่เห็นจะต้องมาจากตัว Master การที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีนำ Digital Librry มาใช้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนการสอน ส่งผลให้คณาจารย์และนักศึกษาต้องปรับตัวโดยเฉพาะอาจารย์จากเดิมที่เป็น Dictator อยู่หน้าชั้น (มีต่อ)Summary: ต้องมาเรียนรู้และจัดการใช้ Electronic Information ที่สำคัญจะต้อง Catch up เทคโนโลยีให้ทัน เพื่อที่จะมาสอนนักศึกษาเรียนรู้ และใช้ความคิดได้ด้วยตนเองในส่วนของนักศึกษาจะต้องมีความรับผิดชอบมากขึ้น ต้องใช้ความคิดมากขึ้น และเรียนรู้และตามทันเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Digital Library ไม่ได้ใช้เฉพาะในห้องสมุดเท่านั้น แต่สามารถใช้งานได้อย่างกว้างขวาง อาจจะในมหาวิทยาลัย ธนาคารที่มีแผนก Education ซึ่งจะต้องคอยเก็บความรู้ต่างๆ สามารถนำเอาดิจิตอลไปจัดเก็บข้อมูลที่มีประโยชน์ (มีต่อ)Summary: ในโรงพยาบาลใช้จัดเก็บฟิล์มเอกซเรย์ เหมาะกับหลายกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งโทรทัศน์ การกระจายข่าวสาร กลุ่มเอนเตอร์เทนเมนท์ ใช้ในการเก็บคะแนนกีฬาต่างๆ รวมทั้งทางด้านการพิมพ์ โฆษณา หนังสือพิมพ์ ตลอดจนกลุ่มโรงพยาบาล กลุ่มห้องสมุด สถาบันต่างๆ พิพิธภัณฑ์ การประยุกต์ใช้ Digital Library ในสถาบันการศึกษาจะต้องชัดเจนถึงความรู้ (knowledge) ที่จะได้รับกับความทันสมัย Modernize ที่ไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย เพื่อที่จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์สำคัญ ให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และเข้าใจบทเรียนนั้นอย่างแท้จริง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ผลพวงจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทำให้ห้องสมุดต้องเปลี่ยนไปเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มีฐานข้อมูลที่ส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้านักวิจัยของนักวิจัยในมหาวิทยาลัยให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นที่มาของโครงการ Digital Library ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมกับบริษัทไอบีเอ็มประเทศไทย จำกัด จัดทำเป็นแห่งแรกของสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ดร.บัณฑิต ทิพากร อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในฐานะหัวหน้าโครงการ Digital Library สำนักหอสมุดและบรรณสารสนเทศ (มีต่อ)

กล่าวถึงการปรับตัวของมหาวิทยาลัยในไทยว่า เมื่อระบบเสรีและอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ทำให้มหาวิทยาลัยต่างชาติเข้ามาในไทยมาก มหาวิทยาลัยในไทยจึงไม่ได้แข่งเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น ยังต้องแข่งกับต่างชาติ ที่คาดว่าจะมีมากขึ้นในอนาคต หลายมหาวิทยาลัยจึงเริ่มปรับเปลี่ยนระบบการเรียนการสอนที่สอนใช้งานเฉพาะในมหาวิทยาลัยมาผลิตโปรแกรมและ Distribute หลักสูตรต่างๆ ครบวงจรเป็นการ Ultilize ระบบเน็ตเวิร์ก www. โดยนำประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้ (มีต่อ)

ให้มีความ Flexible และรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่มหาวิทยาลัยในอนาคตต้องมี Digital Library คือการจัดเก็บข้อมูลมัลติมีเดียขนาดใหญ่ โดยที่ข้อมูลต่างๆ จะอยู่ใน Digital Format มีการจัดเก็บ (Organize) เป็นคอลเล็กชั่นส่วนตัว ของห้องสมุดนั้นๆ ซึ่งเป็นส่วนที่สำคัญ และข้อมูลที่เห็นจะต้องมาจากตัว Master การที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีนำ Digital Librry มาใช้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนการสอน ส่งผลให้คณาจารย์และนักศึกษาต้องปรับตัวโดยเฉพาะอาจารย์จากเดิมที่เป็น Dictator อยู่หน้าชั้น (มีต่อ)

ต้องมาเรียนรู้และจัดการใช้ Electronic Information ที่สำคัญจะต้อง Catch up เทคโนโลยีให้ทัน เพื่อที่จะมาสอนนักศึกษาเรียนรู้ และใช้ความคิดได้ด้วยตนเองในส่วนของนักศึกษาจะต้องมีความรับผิดชอบมากขึ้น ต้องใช้ความคิดมากขึ้น และเรียนรู้และตามทันเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) Digital Library ไม่ได้ใช้เฉพาะในห้องสมุดเท่านั้น แต่สามารถใช้งานได้อย่างกว้างขวาง อาจจะในมหาวิทยาลัย ธนาคารที่มีแผนก Education ซึ่งจะต้องคอยเก็บความรู้ต่างๆ สามารถนำเอาดิจิตอลไปจัดเก็บข้อมูลที่มีประโยชน์ (มีต่อ)

ในโรงพยาบาลใช้จัดเก็บฟิล์มเอกซเรย์ เหมาะกับหลายกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งโทรทัศน์ การกระจายข่าวสาร กลุ่มเอนเตอร์เทนเมนท์ ใช้ในการเก็บคะแนนกีฬาต่างๆ รวมทั้งทางด้านการพิมพ์ โฆษณา หนังสือพิมพ์ ตลอดจนกลุ่มโรงพยาบาล กลุ่มห้องสมุด สถาบันต่างๆ พิพิธภัณฑ์ การประยุกต์ใช้ Digital Library ในสถาบันการศึกษาจะต้องชัดเจนถึงความรู้ (knowledge) ที่จะได้รับกับความทันสมัย Modernize ที่ไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย เพื่อที่จะบรรลุถึงวัตถุประสงค์สำคัญ ให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และเข้าใจบทเรียนนั้นอย่างแท้จริง