ผลกระทบของสภาวะเตรียมชิ้นงานทดสอบต่อการต้านทานการดึงลอกของโฟมพอลิเอทธิลีนกับเหล็กโดยใช้กาวยางนีโอปรีนเป็นประสาน / ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ ... [และคนอื่นๆ]

Contributor(s): ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | โฟมพอลิเอทธิลีน -- วิจัย In: สงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม 2543) หน้า 96 - 105Summary: บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำการตรวจสอบสมบัติการดึงลอกของโฟมพอลิเอทธีลีนกับวัสดุเหล็กโดยใช้กาวยางนีโอปรีนเป็นตัวประสาน ภายใต้สภาวะการเตรียมชิ้นงานทดสอบต่างๆ เช่น ความหนาของชิ้นโฟมที่ใช้อุณหภูมิและเวลาอบชิ้นงาน ความหนาของชิ้นงานทดสอบที่คือ 3 5 และ 10 มม. อุณหภูมิและเวลาอบชิ้นงานที่ศึกษา คือ ระหว่าง 25 ถึง 90 องศาเซลเซียส และ 15 ถึง135 นาที ตามลำดับ การศึกษาสมบัติการดึงลอกนี้ดำเนินงานโดยการใช้เครื่องทดสอบแรงดึงรวมกับการใช้อุปกรณ์ทดสอบแรงดึง (มีต่อ)Summary: ซึ่งทำการออกแบบและจัดสร้างในงานวิจัยนี้โดยเฉพาะโดยผลการทดสอบถูกบันทึก ด้วยการใช้เครื่องบันทึกผลการทดสอบแบบความเร็วสูง และเครื่องคอมพิวเตอร์ ผลการทดลองระบุว่า ความหนาของชิ้นงานโฟมที่ใช้ อุณหภูมิ และเวลาอบชิ้นงานทดสอบ มีผลอย่างมากต่อสมบัติการดึงลอกของคู่วัสดุโฟมและเหล็ก อุณหภูมิ และเวลาอบชิ้นงานที่เหมาะสมคือ 90 องศาเซลเซียส และ 40 นาที ตามลำดับ และความหนาของชิ้นงานพบว่ามีผลอย่างมากต่อความสม่ำเสมอของผลการทดสอบและค่าการทดสอบที่ได้รับ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำการตรวจสอบสมบัติการดึงลอกของโฟมพอลิเอทธีลีนกับวัสดุเหล็กโดยใช้กาวยางนีโอปรีนเป็นตัวประสาน ภายใต้สภาวะการเตรียมชิ้นงานทดสอบต่างๆ เช่น ความหนาของชิ้นโฟมที่ใช้อุณหภูมิและเวลาอบชิ้นงาน ความหนาของชิ้นงานทดสอบที่คือ 3 5 และ 10 มม. อุณหภูมิและเวลาอบชิ้นงานที่ศึกษา คือ ระหว่าง 25 ถึง 90 องศาเซลเซียส และ 15 ถึง135 นาที ตามลำดับ การศึกษาสมบัติการดึงลอกนี้ดำเนินงานโดยการใช้เครื่องทดสอบแรงดึงรวมกับการใช้อุปกรณ์ทดสอบแรงดึง (มีต่อ)

ซึ่งทำการออกแบบและจัดสร้างในงานวิจัยนี้โดยเฉพาะโดยผลการทดสอบถูกบันทึก ด้วยการใช้เครื่องบันทึกผลการทดสอบแบบความเร็วสูง และเครื่องคอมพิวเตอร์ ผลการทดลองระบุว่า ความหนาของชิ้นงานโฟมที่ใช้ อุณหภูมิ และเวลาอบชิ้นงานทดสอบ มีผลอย่างมากต่อสมบัติการดึงลอกของคู่วัสดุโฟมและเหล็ก อุณหภูมิ และเวลาอบชิ้นงานที่เหมาะสมคือ 90 องศาเซลเซียส และ 40 นาที ตามลำดับ และความหนาของชิ้นงานพบว่ามีผลอย่างมากต่อความสม่ำเสมอของผลการทดสอบและค่าการทดสอบที่ได้รับ