การจัดทำจรรยาบรรณเพื่อประกันคุณภาพบริการ / สมิต สัชฌุกร

By: สมิต สัชฌุกรCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): จรรยาบรรณ In: For Quality ปีที่ 11 ฉบับที่ 80 (มิถุนายน 2547) หน้า 37-39Summary: จรรยาบรรณ เป็นประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษาชื่อเสียง และเกียรติคุณของสมาชิก การจัดให้มีจรรยาบรรณเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้มีสิ่งที่ใช้อ้างอิงและทำความเข้าใจให้ตรงกัน การจัดทำจรรยาบรรณนั้นจะต้องยึดถือตามแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1.จรรยาบรรณต้องจัดทำโดยการยอมรับของสมาชิกของหน่วยงาน (มีต่อ)Summary: 2.มีการแสดงเจตนารมณ์ และวัตถุประสงค์ของการจัดทำจรรยาบรรณไว้อย่างชัดเจน 3.มีการพิจารณาเทียบเคียงกับจริยธรรมที่เป็นสากล 4.มีการศึกษาถึงปณิธานของผู้ก่อตั้งองค์การ 5.มีการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์การ 6.ใช้ถ้อยคำที่แสดงถึงพฤติกรรมที่พึงประพฤติปฏิบัติ 7.ใช้ถ้อยคำที่กะทัดรัด กระชับความ 8.ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย 9.ต้องอยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติตามได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จรรยาบรรณ เป็นประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษาชื่อเสียง และเกียรติคุณของสมาชิก การจัดให้มีจรรยาบรรณเป็นลายลักษณ์อักษร ทำให้มีสิ่งที่ใช้อ้างอิงและทำความเข้าใจให้ตรงกัน การจัดทำจรรยาบรรณนั้นจะต้องยึดถือตามแนวปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1.จรรยาบรรณต้องจัดทำโดยการยอมรับของสมาชิกของหน่วยงาน (มีต่อ)

2.มีการแสดงเจตนารมณ์ และวัตถุประสงค์ของการจัดทำจรรยาบรรณไว้อย่างชัดเจน 3.มีการพิจารณาเทียบเคียงกับจริยธรรมที่เป็นสากล 4.มีการศึกษาถึงปณิธานของผู้ก่อตั้งองค์การ 5.มีการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์การ 6.ใช้ถ้อยคำที่แสดงถึงพฤติกรรมที่พึงประพฤติปฏิบัติ 7.ใช้ถ้อยคำที่กะทัดรัด กระชับความ 8.ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย 9.ต้องอยู่ในวิสัยที่จะปฏิบัติตามได้