โรคเมลิออยโดซิสในแพะและการตรวจหาแอนติบอดี้ในปศุสัตว์อื่นที่เลี้ยงในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ / อุษา เชษฐานนท์ ... [และคนอื่นๆ]

Contributor(s): อุษา เชษฐานนท์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | โรคเมลิออยโดซิส | สัตว์ -- โรค In: สงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2543) หน้า 159 - 167Summary: โรคเมลิออยโดซิสในสัตว์ทำให้เกิดการป่วยทั้งแบบเรื้อรังและแบบเฉียบพลัน ซึ่งในการตรวจวินิจฉัยโรคจากอาการในรายเฉียบพลันนั้น จะแยกจากการติดเชื้อแบคทีเรียอื่นๆ ได้ยาก ต้องอาศัยการตรวจในห้องปฏิบัติการ เช่น การเพาะเชื้อจากโลหิต การตรวจหาแอนติบอดี้ เป็นต้น ส่วนแบบเรื้อรังจะมีอาการเป็นฝีในอวัยวะภายใน ซึ่งทำให้เกิดอาการใกล้เคียงกับการติดเชื้ออื่นๆ แบบเฉพาะที่ แต่ในสัตว์เพศผู้มักมีอาการอัณฑะอักเสบ ซึ่งควรคัดทิ้งไปจากฝูง (มีต่อ)Summary: เนื่องจากเชื้อมีพิษที่ร้ายแรงทำลายเนื้อเยื่อและอาจก่อให้เกิดโลหิตเป็นพิษ ส่วนการตรวจหาแอนติบอดี้ต่อเชื้อ B.pseudomallei ด้วยวิธี indirect hemagglutination ที่ใช้กันอยู่ในการวินิจฉัยโรคในสัตว์ในปัจจุบัน ก็ยังแปลผลได้ไม่แน่นอน ควรหาวิธีวินิจฉัย โรคที่มีความจำเพาะและแม่นยำสูง เพื่อใช้เป็นวิธีตรวจสอบมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และจะได้นำผลที่ได้ไปใช้ในการศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงในการติดโรคในสัตว์ อันจะนำไปสู่หนทางการควบคุมและกำจัดโรคนี้ออกไปจากพื้นที่การเลี้ยงสัตว์ได้ในที่สุด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โรคเมลิออยโดซิสในสัตว์ทำให้เกิดการป่วยทั้งแบบเรื้อรังและแบบเฉียบพลัน ซึ่งในการตรวจวินิจฉัยโรคจากอาการในรายเฉียบพลันนั้น จะแยกจากการติดเชื้อแบคทีเรียอื่นๆ ได้ยาก ต้องอาศัยการตรวจในห้องปฏิบัติการ เช่น การเพาะเชื้อจากโลหิต การตรวจหาแอนติบอดี้ เป็นต้น ส่วนแบบเรื้อรังจะมีอาการเป็นฝีในอวัยวะภายใน ซึ่งทำให้เกิดอาการใกล้เคียงกับการติดเชื้ออื่นๆ แบบเฉพาะที่ แต่ในสัตว์เพศผู้มักมีอาการอัณฑะอักเสบ ซึ่งควรคัดทิ้งไปจากฝูง (มีต่อ)

เนื่องจากเชื้อมีพิษที่ร้ายแรงทำลายเนื้อเยื่อและอาจก่อให้เกิดโลหิตเป็นพิษ ส่วนการตรวจหาแอนติบอดี้ต่อเชื้อ B.pseudomallei ด้วยวิธี indirect hemagglutination ที่ใช้กันอยู่ในการวินิจฉัยโรคในสัตว์ในปัจจุบัน ก็ยังแปลผลได้ไม่แน่นอน ควรหาวิธีวินิจฉัย โรคที่มีความจำเพาะและแม่นยำสูง เพื่อใช้เป็นวิธีตรวจสอบมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และจะได้นำผลที่ได้ไปใช้ในการศึกษาหาปัจจัยเสี่ยงในการติดโรคในสัตว์ อันจะนำไปสู่หนทางการควบคุมและกำจัดโรคนี้ออกไปจากพื้นที่การเลี้ยงสัตว์ได้ในที่สุด