การหาปริมาณโปรตีนก่อภูมิแพ้ในถุงมือยาง และการทดสอบการแพ้ในหนูตะเภา / สุทธินี ภูวนาถ, คัธลียา พรเพชรสุข

By: สุทธินี ภูวนาถContributor(s): คัธลียา พรเพชรสุขCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ถุงมือ -- วิจัย In: สงขลานครินทร์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2542) หน้า 99 - 104Summary: การตรวจโปรตีนก่อภูมิแพ้ในถุงมือยาง โดยวิธี Latex ELISA of Antigenic Protein (LEAP) สามารถตรวจพบในถุงมือยางเพียง 10 ตัวอย่าง จาก 24 ตัวอย่าง ถุงมือยางชนิดศัลยแพทย์ใช้ พบว่ามีปริมาณโปรตีนก่อภูมิแพ้มากที่สุด และถุงมือยางชนิดใช้ในครัวเรือนพบน้อยที่สุด ปริมาณของโปรตีนก่อภูมิแพ้ไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณของโปรตีนธรรมชาติหรือโปรตีนทั้งหมดที่ตรวจพบในถุงมือยาง และจากการทดสอบการแพ้ชนิดล่าช้า โดยวิธีสัมผัส (delayed contact hypersensitivity) โดยใช้หนูตะเภาสัมผัสกับชิ้นถุงมือยางจำนวน 8 ตัวอย่างที่พบและ 2 ตัวอย่างที่ไม่พบโปรตีนก่อภูมิแพ้เปรียบเทียบกับกลุ่มที่สัมผัสกับพลาสเตอร์เท่านั้น พบว่าไม่เกิดอาการแพ้ที่ผิวหนังของหนูตะเภาทั้งหมด
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การตรวจโปรตีนก่อภูมิแพ้ในถุงมือยาง โดยวิธี Latex ELISA of Antigenic Protein (LEAP) สามารถตรวจพบในถุงมือยางเพียง 10 ตัวอย่าง จาก 24 ตัวอย่าง ถุงมือยางชนิดศัลยแพทย์ใช้ พบว่ามีปริมาณโปรตีนก่อภูมิแพ้มากที่สุด และถุงมือยางชนิดใช้ในครัวเรือนพบน้อยที่สุด ปริมาณของโปรตีนก่อภูมิแพ้ไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณของโปรตีนธรรมชาติหรือโปรตีนทั้งหมดที่ตรวจพบในถุงมือยาง และจากการทดสอบการแพ้ชนิดล่าช้า โดยวิธีสัมผัส (delayed contact hypersensitivity) โดยใช้หนูตะเภาสัมผัสกับชิ้นถุงมือยางจำนวน 8 ตัวอย่างที่พบและ 2 ตัวอย่างที่ไม่พบโปรตีนก่อภูมิแพ้เปรียบเทียบกับกลุ่มที่สัมผัสกับพลาสเตอร์เท่านั้น พบว่าไม่เกิดอาการแพ้ที่ผิวหนังของหนูตะเภาทั้งหมด