เจ้าของไม่ยอมคืนเงินประกันผลงาน / วิโรจน์ พูนสุวรรณ

By: วิโรจน์ พูนสุวรรณCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): เงิน | SCI-TECH In: ข่าวช่าง ปีที่ 26 ฉบับที่ 299 (มีนาคม 2540) หน้า 58 - 59Summary: เงินประกันผลงาน ( Retention Money) มีไว้เพื่อเจ้าของมั่นใจ ในช่วงระยะเวลาของความรับผิด ต่อความชำรุดบกพร่อง ( Defects Liability period ) ผู้รับเหมาจะยังคงรับผิดชอบซ่อมแซม แก้ไขความชำรุดบกพร่องที่เกิดขึ้น ปกติเงินส่วนนี้คิดเป็นร้อยละ 5 (มีต่อ)Summary: ของจำนวนเงินค่าจ้างทั้งหมดตามสัญญา โดยเจ้าของจะหักไว้ร้อยละ 5 จากค้างวดแต่ละงวด และจะคืนให้ก็ต่อเมื่อครบกำหนดระยะเวลาความรับผิดชอบ ต่อความชำรุดบกพร่อง ซึ่งส่วนใหญ่จะกำหนดไว้ 1 ปี นับแต่วันตรวจมอบงานงวดสุดท้าย ( Final Acceptance ) (มีต่อ)Summary: โดยถือว่าเมื่อวิศวกรรมมอบใบรับรอง ว่างานเสร็จให้เมื่อไร ก็ถือว่าเจ้าของได้รับมอบงานแล้ว เมื่อนั้นข้อกำหนดว่าเจ้าของจะคืนเงินให้ภายใน 1 ปี นับแต่การตรวจรับมอบงานนี้ มักจะไปผูดติดอยุ่กับเงื่อนไขใหญ่กว่า งานที่ยังมอบไปจะต้องไม่เสียหาย ( มีต่อ )Summary: หรือปรากฎความมชำรุดบกพร่องขึ้นภายใน 1 ปีนั้น ถ้ามีเหตุดั้งกล่าว เกิดขึ้นเจ้าของก็มีสิทธิ์ไม่คืนเงินให้ได้ ปัญหาที่ผู้รับเหมามักจะประสบเกี่ยวกับเงินประกันผลงานก็เช่น 1. ข้อชำรุดบกพร่องที่เกิดขึ้นไม่ใช้เกิดจากความผิดของผู้รับเหมา (มีต่อ)Summary: 2.นอกจากไม่ได้เงินประกันผลงานคืนแล้ว ผุ้รับเหมายังต้องเสียค่าใช้จ่ายซ่อมแซมแก้ไขความชำรุดบกพร่อง ที่ไม่ได้เกิดจากความผิดพลาดของตน 3. ค่าใช่จ่ายในการซ่อมแซ่มแก้ไขข้อชำรุดข้อบกพร่องดังกล่าว ซึ้งไม่ได้เกิดจากความผิดพลาดของตนนั้น เจ้าของไม่ยินยอมให้ผู้รับเหมามารวมกับค่าจ้างตามสัญญาได้ (มีต่อ)Summary: 5. ข้อชำรุดบกพร่องมีนิดเดียว เช่นประมาณ 500,000บาท แต่เจ้าของกับยึด เงินประกันผลงานไว้ทั้งก้อน เช่น 2,000,000 บาท เป็นต้น 4. แม้เลยเวลาความรับผิดต่อ ความชำรุดบกพร่อง 1 ปีไปแล้ว ผู้รับเหมาก็ยัง ต้องปฏิบัติตามคำสั้งของเจ้าของ ในการซ่อมแซมแก้ไข ความชำรุดบกพร่อง และไม่รู้ภาระหน้าที่ จะไปหยุดลงเมื่อไร (มีต่อ)Summary: และทำอย่างไรเจ้าของ จึงพอใจยอมคืนเงินให้ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ผู้รับเหมารายใด ประสบปัญหาคล้ายๆกับข้างต้น ก็ควรจะดำเนิน แก้ปัญหาเป็นขั้นๆไป โดยเริ่มจากขั้นตอนแรกเป็นลำดับไปดั้งนี้ 1. เจรจารอบแรก หาทางเจรจากับเจ้าของโดยความนุ่มนวล 2.การตรวจสอบสัญญา 3. หนังสือท้วงหนี้ 4. เจรจารอบหลัง 5. หนังสือจากสำนักงานกฎหมาย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

เงินประกันผลงาน ( Retention Money) มีไว้เพื่อเจ้าของมั่นใจ ในช่วงระยะเวลาของความรับผิด ต่อความชำรุดบกพร่อง ( Defects Liability period ) ผู้รับเหมาจะยังคงรับผิดชอบซ่อมแซม แก้ไขความชำรุดบกพร่องที่เกิดขึ้น ปกติเงินส่วนนี้คิดเป็นร้อยละ 5 (มีต่อ)

ของจำนวนเงินค่าจ้างทั้งหมดตามสัญญา โดยเจ้าของจะหักไว้ร้อยละ 5 จากค้างวดแต่ละงวด และจะคืนให้ก็ต่อเมื่อครบกำหนดระยะเวลาความรับผิดชอบ ต่อความชำรุดบกพร่อง ซึ่งส่วนใหญ่จะกำหนดไว้ 1 ปี นับแต่วันตรวจมอบงานงวดสุดท้าย ( Final Acceptance ) (มีต่อ)

โดยถือว่าเมื่อวิศวกรรมมอบใบรับรอง ว่างานเสร็จให้เมื่อไร ก็ถือว่าเจ้าของได้รับมอบงานแล้ว เมื่อนั้นข้อกำหนดว่าเจ้าของจะคืนเงินให้ภายใน 1 ปี นับแต่การตรวจรับมอบงานนี้ มักจะไปผูดติดอยุ่กับเงื่อนไขใหญ่กว่า งานที่ยังมอบไปจะต้องไม่เสียหาย ( มีต่อ )

หรือปรากฎความมชำรุดบกพร่องขึ้นภายใน 1 ปีนั้น ถ้ามีเหตุดั้งกล่าว เกิดขึ้นเจ้าของก็มีสิทธิ์ไม่คืนเงินให้ได้ ปัญหาที่ผู้รับเหมามักจะประสบเกี่ยวกับเงินประกันผลงานก็เช่น 1. ข้อชำรุดบกพร่องที่เกิดขึ้นไม่ใช้เกิดจากความผิดของผู้รับเหมา (มีต่อ)

2.นอกจากไม่ได้เงินประกันผลงานคืนแล้ว ผุ้รับเหมายังต้องเสียค่าใช้จ่ายซ่อมแซมแก้ไขความชำรุดบกพร่อง ที่ไม่ได้เกิดจากความผิดพลาดของตน 3. ค่าใช่จ่ายในการซ่อมแซ่มแก้ไขข้อชำรุดข้อบกพร่องดังกล่าว ซึ้งไม่ได้เกิดจากความผิดพลาดของตนนั้น เจ้าของไม่ยินยอมให้ผู้รับเหมามารวมกับค่าจ้างตามสัญญาได้ (มีต่อ)

5. ข้อชำรุดบกพร่องมีนิดเดียว เช่นประมาณ 500,000บาท แต่เจ้าของกับยึด เงินประกันผลงานไว้ทั้งก้อน เช่น 2,000,000 บาท เป็นต้น 4. แม้เลยเวลาความรับผิดต่อ ความชำรุดบกพร่อง 1 ปีไปแล้ว ผู้รับเหมาก็ยัง ต้องปฏิบัติตามคำสั้งของเจ้าของ ในการซ่อมแซมแก้ไข ความชำรุดบกพร่อง และไม่รู้ภาระหน้าที่ จะไปหยุดลงเมื่อไร (มีต่อ)

และทำอย่างไรเจ้าของ จึงพอใจยอมคืนเงินให้ ขั้นตอนการแก้ปัญหา ผู้รับเหมารายใด ประสบปัญหาคล้ายๆกับข้างต้น ก็ควรจะดำเนิน แก้ปัญหาเป็นขั้นๆไป โดยเริ่มจากขั้นตอนแรกเป็นลำดับไปดั้งนี้ 1. เจรจารอบแรก หาทางเจรจากับเจ้าของโดยความนุ่มนวล 2.การตรวจสอบสัญญา 3. หนังสือท้วงหนี้ 4. เจรจารอบหลัง 5. หนังสือจากสำนักงานกฎหมาย