กระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรมกับการดูดซับแรงงาน / วรวิทย์ เจริญเลิศ

By: วรวิทย์ เจริญเลิศCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): การพัฒนาอุตสาหกรรม | แรงงานและตลาดแรงงาน | SCI-TECH In: ข่าวช่าง ปีที่ 26 ฉบับที่ 297 (มกราคม 2540) หน้า 53Summary: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ได้ให้ทุนอุดหนุนการวิจัยแก่ รศ. ดร. วรวิทย์ เจริญเลิศ คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหา วิทยาลัย ทำวิจัยเรื่อง " กระบานการพัฒนาอุตสาหกรรมกับ การรดูดซับแรงงาน " เพื่อวิเคราะห์ความสำคัญการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างเศรษฐกิจกับการจ้างงาน (มีต่อ)Summary: ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมาเพื่อให้ทราบว่า การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย นำมาสู่การเคลื่อนย้ายแรงงานออกจากภาคอุตสาหกรรมอย่างไร ผลการวิจัยพบว่า ความพยายามที่นำประเทศ ไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทำให้ประเทศไทยต้องพัฒนาเศรษฐกิจแบบเปิด ไปประชาสัมพันธ์ (มีต่อ)Summary: กับเศรษฐกิจโลก 3 ลักษณะ คือ การพัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้า การส่งเสริมการส่งออกพืชเศรษฐกิจ และการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ซึ่งในระยะแรกๆ ทำให้มีแรงงานเคลื่อนย้าย จากภาคเกษตรกรรมสู่ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น แต่การดูดซับแรงงานค่อนข้างจำกัด (มีต่อ)Summary: เพราะอุตสาหกรรมที่ได้ รับการพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม ที่นำเข้าทุนจากต่างชาติ ไม่มีส่วนสำคัญต่อการการจ้างงานในประเทศมากนัก เกิดปัญหาการว่างงานต่ำกว่าระดับ และเมื่อรัฐบาลได้ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจ เพื่อส่งออก ทำให้เกษตรบางส่วนมีรายได้สูงขึ้น (มีต่อ)Summary: แต่ทำให้ตลาดแรงงานในชนบทค่อนข้างตึงตัว เพราะมีการเคลื่อนย้ายระหว่างจัดหวัดกับจังหวัด แต่ยังอยู่ในภาคเกษตรกรรม การดำเนินการสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมส่งออก กรณีศึกษาอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนา และขยายตัวมากที่สุด (มีต่อ)Summary: มีมูลค่าผลผลิต การจ้างงาน และมูลค่าการส่งออกสูงที่สุดนั้น เป็นผลให้อุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว อัตราว่างงานในประเทศลดลง และมีแนวโน้มว่าจะขาดแคลน และปัญหาสำคัญ คือการที่ภาคธุรกิจพยายามใช้ กลยุทธในการลดค่าใช้จ่ายให้ต่ำลง โดยอาศัย (มีต่อ)Summary: การจ้างงานชั่วคราว จ้างแบบเหมาหรือขยายระบบ รับช่วงการผลิต เข้าสู้การผลิตนอกระบบ ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้แรงงาน ทั้งด้านรายได้ สวีสดิการและความมั้นคงในงาน เนื่องจากโรงงานหลายแห่งเลิกจ้างลูกจ้าง ผลการวิจัยได้ข้อเสนอแนะว่า การพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการ(มีต่อ)Summary: ส่งออกของไทยประสบกับปัญหา ความซบเซาของตลาดโลก การกีดกันทางการค้า ความได้เปรียบเรื่องค่าจ้างต่ำเริ่มลดลง เพราะมีหลายประเทศมีค่าแรงต่ำกว่า จึงควรแก้ปัญหา ในการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม หันไปผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ โดยแรงงานที่มีทักษะสูงขึ้น และต้องไม่ละเลยการลงทุน เพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน รวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ได้ให้ทุนอุดหนุนการวิจัยแก่ รศ. ดร. วรวิทย์ เจริญเลิศ คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหา วิทยาลัย ทำวิจัยเรื่อง " กระบานการพัฒนาอุตสาหกรรมกับ การรดูดซับแรงงาน " เพื่อวิเคราะห์ความสำคัญการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างเศรษฐกิจกับการจ้างงาน (มีต่อ)

ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมาเพื่อให้ทราบว่า การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย นำมาสู่การเคลื่อนย้ายแรงงานออกจากภาคอุตสาหกรรมอย่างไร ผลการวิจัยพบว่า ความพยายามที่นำประเทศ ไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว ทำให้ประเทศไทยต้องพัฒนาเศรษฐกิจแบบเปิด ไปประชาสัมพันธ์ (มีต่อ)

กับเศรษฐกิจโลก 3 ลักษณะ คือ การพัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้า การส่งเสริมการส่งออกพืชเศรษฐกิจ และการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก ซึ่งในระยะแรกๆ ทำให้มีแรงงานเคลื่อนย้าย จากภาคเกษตรกรรมสู่ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น แต่การดูดซับแรงงานค่อนข้างจำกัด (มีต่อ)

เพราะอุตสาหกรรมที่ได้ รับการพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม ที่นำเข้าทุนจากต่างชาติ ไม่มีส่วนสำคัญต่อการการจ้างงานในประเทศมากนัก เกิดปัญหาการว่างงานต่ำกว่าระดับ และเมื่อรัฐบาลได้ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจ เพื่อส่งออก ทำให้เกษตรบางส่วนมีรายได้สูงขึ้น (มีต่อ)

แต่ทำให้ตลาดแรงงานในชนบทค่อนข้างตึงตัว เพราะมีการเคลื่อนย้ายระหว่างจัดหวัดกับจังหวัด แต่ยังอยู่ในภาคเกษตรกรรม การดำเนินการสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมส่งออก กรณีศึกษาอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนา และขยายตัวมากที่สุด (มีต่อ)

มีมูลค่าผลผลิต การจ้างงาน และมูลค่าการส่งออกสูงที่สุดนั้น เป็นผลให้อุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว อัตราว่างงานในประเทศลดลง และมีแนวโน้มว่าจะขาดแคลน และปัญหาสำคัญ คือการที่ภาคธุรกิจพยายามใช้ กลยุทธในการลดค่าใช้จ่ายให้ต่ำลง โดยอาศัย (มีต่อ)

การจ้างงานชั่วคราว จ้างแบบเหมาหรือขยายระบบ รับช่วงการผลิต เข้าสู้การผลิตนอกระบบ ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้แรงงาน ทั้งด้านรายได้ สวีสดิการและความมั้นคงในงาน เนื่องจากโรงงานหลายแห่งเลิกจ้างลูกจ้าง ผลการวิจัยได้ข้อเสนอแนะว่า การพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อการ(มีต่อ)

ส่งออกของไทยประสบกับปัญหา ความซบเซาของตลาดโลก การกีดกันทางการค้า ความได้เปรียบเรื่องค่าจ้างต่ำเริ่มลดลง เพราะมีหลายประเทศมีค่าแรงต่ำกว่า จึงควรแก้ปัญหา ในการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม หันไปผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ โดยแรงงานที่มีทักษะสูงขึ้น และต้องไม่ละเลยการลงทุน เพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน รวมทั้งเทคโนโลยีสมัยใหม่