การเปรียบเทียบการดูดซับตะกั่ว (+2) โดยใช้เปลือกไข่และเกล็ดปลา / ประสิทธิ์ แผ้วบาง, อรไท สุขเจริญ

By: ประสิทธิ์ แผ้วบางContributor(s): อรไท สุขเจริญCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ตะกั่ว -- วิจัย In: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2542) หน้า 51-57Summary: ตะกั่วเป็นโลหะหนักชนิดหนึ่งที่ปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้ำตามสิ่งแวดล้อม (และแหล่งน้ำบริโภค) งานวิจัยนี้ได้ศึกษาแยกตะกั่ว (+2) ออกจากแหล่งน้ำโดยใช้เปลือกไข่และเกล็ดปลาเป็นตัวดูดซับ และศึกษาผลของพีเอชเริ่มต้นเวลาที่ใช้ในการดูดซับ ความเข้มข้นของตะกั่วเริ่มต้นที่มีผลต่อการดูดซับตะกั่ว ตลอดจนการเปรียบเทียบความสามารถในการดูดซับตะกั่วไอออนเทียบกับการดูดซับโลหะไอออนชนิดอื่น จากผลของการศึกษาได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการใช้เกล็ดปลาในการดูดซับตะกั่วได้ดีกว่าเปลือกไข่
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ตะกั่วเป็นโลหะหนักชนิดหนึ่งที่ปนเปื้อนอยู่ในแหล่งน้ำตามสิ่งแวดล้อม (และแหล่งน้ำบริโภค) งานวิจัยนี้ได้ศึกษาแยกตะกั่ว (+2) ออกจากแหล่งน้ำโดยใช้เปลือกไข่และเกล็ดปลาเป็นตัวดูดซับ และศึกษาผลของพีเอชเริ่มต้นเวลาที่ใช้ในการดูดซับ ความเข้มข้นของตะกั่วเริ่มต้นที่มีผลต่อการดูดซับตะกั่ว ตลอดจนการเปรียบเทียบความสามารถในการดูดซับตะกั่วไอออนเทียบกับการดูดซับโลหะไอออนชนิดอื่น จากผลของการศึกษาได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการใช้เกล็ดปลาในการดูดซับตะกั่วได้ดีกว่าเปลือกไข่