ดาวหาง / พหล จิตติยศรา

By: พหล จิตติยศราCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): ดาวหาง | SCI-TECH In: วิทยาศาสตร์ ปีที่ 51ฉบับที่ 1(มกราคม-กุมภาพันธ์ 2540) หน้า 11 - 16Summary: ดาวหางเป็นก้อนน้ำแข็งสกปรก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 กม. ก้อนน้ำแข็งนี้ 70 ถึง 80 % ทำด้วย CO2 , NH3, CH4, และ H2O ฯลฯ ปะปนด้วยฝุ่นขนาดเล็กๆ ขานด 1/1000 ซม. ที่เหลืออีก 20 ถึง 30 % เป็นก้อนอุตกาบาตปะปนอยู่ทั่วไป เมื่อก้อน้ำแข็งนี้อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก พอรังสีจากดวงอาทิตย์ จะทำให้ผิวของมันด้านที่หันเข้าดวงอาทิตย์ มีการระเหิด โดยองค์ประกอบต่างกันในก้อนน้ำแข้งจะมี(มีต่อ)Summary: การระเหิดต่างวาระกัน จากการระเหิดของน้ำแข็งจะทำให้ฝุ่นหลุดออกมา ด้วยฝุ่นนี้จะสะท้อนแสงอาทิตย์ ทำให้เห็นเป็นส่วนหัวและหาง รังสีอุลตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย์ ทำให้ก๊าซหลุดออกมาแตกตัว เป็นโมเลกุลที่สามัญกว่า และแตกตัวเป็นไอออน ไอออนเหล่านี้อาจถูกลมสุริยะ หรือสุริยวาตู Solar Wind หรืออนุภาคที่มี (มีต่อ)Summary: ประจุไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์ผลักให้ไปอยู่ส่วนหัวและหาง จากการศึกษาพบว่าดาวหางหลายดวง ไอออนที่ส่วนหางเป็นพวกคาร์บอนออกไซด์ และไนโตรเจน ฯลฯ จาการศึกษาสมบัติการเรืองแสง ของไอออนที่ส่วนหัวและหาง และสมบัติการกระเจิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากอนุภาค ฝุ่นผงส่วนหัว(มีต่อ)Summary: และหางที่มายังโลก สามารภถ่ายภาพดาวหาง ที่มีความยาวคลื่นต่างๆ กันในขณะเดียวกัน และนำภาพมาซ้อนกัน จะเห็นภาพสีของดาวหาง ที่เห็นโครงสร้างของส่วนหัว และหางชัดเจน สีขององ๕ประกอบที่ส่วนหัวและหาง อาจบอกถึงสมบัติการเรืองแสง และการกระเจิงของแสงไอออน(มีต่อ)Summary: และอนุภาคฝุ่นผง ขณะเกิดปรากฏการณ์ดาวหางจะประกอบด้วย 1.ใจกลาง (Nvelevs) ขนาดถึง 1 ถึง 10กม. ใจกลางนี้จะไม่เห็นจากโลก อาจมาเป็นกลุ่มก็ได้ กรณีดาวหาง ชูเมเกอร์ -เลวี 9 ซึ่งมีไม่ต่ำกว่า 20 ชั้น 2. โคมา Coma ขนาดถึง 100,000 ถึง1,000,000 กม ภายในดวงกลางสว่างขนาด ประมาณ2,000กม. 3. หาง Tail มี 2ประเภท ประเภทหางฝุ่นโค้ง ขนาดอาจ 1,000,000 ถึง 10,000,000กม. และประเภททางตรง (ไอออน) ซึ่งขนาด อาจยาวถึง 10,000,000 ถึง 100,000,000 กม.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ดาวหางเป็นก้อนน้ำแข็งสกปรก มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 กม. ก้อนน้ำแข็งนี้ 70 ถึง 80 % ทำด้วย CO2 , NH3, CH4, และ H2O ฯลฯ ปะปนด้วยฝุ่นขนาดเล็กๆ ขานด 1/1000 ซม. ที่เหลืออีก 20 ถึง 30 % เป็นก้อนอุตกาบาตปะปนอยู่ทั่วไป เมื่อก้อน้ำแข็งนี้อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก พอรังสีจากดวงอาทิตย์ จะทำให้ผิวของมันด้านที่หันเข้าดวงอาทิตย์ มีการระเหิด โดยองค์ประกอบต่างกันในก้อนน้ำแข้งจะมี(มีต่อ)

การระเหิดต่างวาระกัน จากการระเหิดของน้ำแข็งจะทำให้ฝุ่นหลุดออกมา ด้วยฝุ่นนี้จะสะท้อนแสงอาทิตย์ ทำให้เห็นเป็นส่วนหัวและหาง รังสีอุลตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย์ ทำให้ก๊าซหลุดออกมาแตกตัว เป็นโมเลกุลที่สามัญกว่า และแตกตัวเป็นไอออน ไอออนเหล่านี้อาจถูกลมสุริยะ หรือสุริยวาตู Solar Wind หรืออนุภาคที่มี (มีต่อ)

ประจุไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์ผลักให้ไปอยู่ส่วนหัวและหาง จากการศึกษาพบว่าดาวหางหลายดวง ไอออนที่ส่วนหางเป็นพวกคาร์บอนออกไซด์ และไนโตรเจน ฯลฯ จาการศึกษาสมบัติการเรืองแสง ของไอออนที่ส่วนหัวและหาง และสมบัติการกระเจิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากอนุภาค ฝุ่นผงส่วนหัว(มีต่อ)

และหางที่มายังโลก สามารภถ่ายภาพดาวหาง ที่มีความยาวคลื่นต่างๆ กันในขณะเดียวกัน และนำภาพมาซ้อนกัน จะเห็นภาพสีของดาวหาง ที่เห็นโครงสร้างของส่วนหัว และหางชัดเจน สีขององ๕ประกอบที่ส่วนหัวและหาง อาจบอกถึงสมบัติการเรืองแสง และการกระเจิงของแสงไอออน(มีต่อ)

และอนุภาคฝุ่นผง ขณะเกิดปรากฏการณ์ดาวหางจะประกอบด้วย 1.ใจกลาง (Nvelevs) ขนาดถึง 1 ถึง 10กม. ใจกลางนี้จะไม่เห็นจากโลก อาจมาเป็นกลุ่มก็ได้ กรณีดาวหาง ชูเมเกอร์ -เลวี 9 ซึ่งมีไม่ต่ำกว่า 20 ชั้น 2. โคมา Coma ขนาดถึง 100,000 ถึง1,000,000 กม ภายในดวงกลางสว่างขนาด ประมาณ2,000กม. 3. หาง Tail มี 2ประเภท ประเภทหางฝุ่นโค้ง ขนาดอาจ 1,000,000 ถึง 10,000,000กม. และประเภททางตรง (ไอออน) ซึ่งขนาด อาจยาวถึง 10,000,000 ถึง 100,000,000 กม.