โอโซน / สารซีเอฟซี / ศิริณี พูนไชยศรี

By: ศิริณี พูนไชยศรีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | โอโซน | สารซีเอฟซี In: กีฏและสัตววิทยา ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2542) หน้า 226 - 227Summary: โอโซน เป็นก๊าซที่มีความสำคัญมากต่อชีวิตมนุษย์พบได้ในชั้นบรรยากาศสตราโทสเฟียร์ โอโซนเป็นสารช่วยรักษาสมดุลของอุณหภูมิที่ผิวโลก โดยทำหน้าที่ดูดซับรังสีอุลตราไวโอเลตที่สะท้อนจากผิวโลกทำให้อุณหภูมิผิวโลกอุ่นขึ้น เหมาะกับการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก และยังเป็นก๊าซที่ป้องกันการเกิดภาวะเรือนกระจก แต่ในปัจจุบันพบว่าปริมาณโอโซนบริเวณผิวโลกมีน้อยมาก เนื่องจากถูกทำลายโดยสารประกอบคลอโรฟลูออโรคารืบอน หรือที่เรียกว่า สารซีเอฟซี (CFC) สารซีเอฟซีนี้สลายตัวได้ยาก ไม่ถูกทำลายในชั้นบรรยากาศโทรโฟรสเฟียร์ (มีต่อ)Summary: และยังสามารถเดินทางสู่ชั้นบรรยากาศสตราโทสเฟียร์ได้ต่อเนื่องยาวนานไม่น้อยกว่า 8-12ปี และขณะที่เดินทางนั้นจะทำปฏิกิริยากับรังสีอุลตราไวโอเลตเกิดเป็นอะตอมคลอรีนอิสระ ซึ่งคลอรีนอิสระนี้จะเป็นตัวการสำคัญในการทำลายโอโซน เพื่อความอยู่รอดของมวลมนุษย์ทุกคนต้องร่วมมือกันหยุดยั้งการทำลายโอโซน โดยเลิกใช้สารซีเอฟซี เลือกใช้สารอื่นที่ไม่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ ขณะเดียวกันลดการทิ้งสารซีเอฟซีในสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)Summary: โดยหาวิธีหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งนับเป็นทางรอดทางหนึ่งของมนุษย์ที่สามารถกระทำได้ง่ายที่สุด แม้ว่าจะต้องใช้เวลาอีกยาวนานเป็นศตวรรษที่จะทำให้สารนี้หมดไปจากชั้นบรรยากาศ ซึ่งที่ประชุมขององค์การสหประชาชาติได้มีมติให้เลิกใช้สารซีเอฟซีโดยสิ้นเชิงในปี ค.ศ.2000
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

โอโซน เป็นก๊าซที่มีความสำคัญมากต่อชีวิตมนุษย์พบได้ในชั้นบรรยากาศสตราโทสเฟียร์ โอโซนเป็นสารช่วยรักษาสมดุลของอุณหภูมิที่ผิวโลก โดยทำหน้าที่ดูดซับรังสีอุลตราไวโอเลตที่สะท้อนจากผิวโลกทำให้อุณหภูมิผิวโลกอุ่นขึ้น เหมาะกับการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตบนโลก และยังเป็นก๊าซที่ป้องกันการเกิดภาวะเรือนกระจก แต่ในปัจจุบันพบว่าปริมาณโอโซนบริเวณผิวโลกมีน้อยมาก เนื่องจากถูกทำลายโดยสารประกอบคลอโรฟลูออโรคารืบอน หรือที่เรียกว่า สารซีเอฟซี (CFC) สารซีเอฟซีนี้สลายตัวได้ยาก ไม่ถูกทำลายในชั้นบรรยากาศโทรโฟรสเฟียร์ (มีต่อ)

และยังสามารถเดินทางสู่ชั้นบรรยากาศสตราโทสเฟียร์ได้ต่อเนื่องยาวนานไม่น้อยกว่า 8-12ปี และขณะที่เดินทางนั้นจะทำปฏิกิริยากับรังสีอุลตราไวโอเลตเกิดเป็นอะตอมคลอรีนอิสระ ซึ่งคลอรีนอิสระนี้จะเป็นตัวการสำคัญในการทำลายโอโซน เพื่อความอยู่รอดของมวลมนุษย์ทุกคนต้องร่วมมือกันหยุดยั้งการทำลายโอโซน โดยเลิกใช้สารซีเอฟซี เลือกใช้สารอื่นที่ไม่มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบ ขณะเดียวกันลดการทิ้งสารซีเอฟซีในสิ่งแวดล้อม (มีต่อ)

โดยหาวิธีหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งนับเป็นทางรอดทางหนึ่งของมนุษย์ที่สามารถกระทำได้ง่ายที่สุด แม้ว่าจะต้องใช้เวลาอีกยาวนานเป็นศตวรรษที่จะทำให้สารนี้หมดไปจากชั้นบรรยากาศ ซึ่งที่ประชุมขององค์การสหประชาชาติได้มีมติให้เลิกใช้สารซีเอฟซีโดยสิ้นเชิงในปี ค.ศ.2000