การใช้เทคโนโลยี WDM ในเครือข่ายเคเบิลใต้ทะเล / พงษ์ศักดิ์ สุสัมพันธ์ไพบูลย์

By: พงษ์ศักดิ์ สุสัมพันธ์ไพบูลย์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เทคโนโลยี | เคเบิลใต้ทะเล In: ส่งเสริมเทคโนโลยี ปีที่ 27 ฉบับที่ 150 (เมษายน-พฤษภาคม 2543) หน้า 64 - 67Summary: ปัจจุบันเทคโนโลยี WDM (Wavelenath-Division Multiplexing) ได้ถูกนำมาใช้ในเครือข่ายเคเบิลเส้นใยนำแสงใต้ทะเลที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพของเครือข่าย เช่น ทำให้เครือข่ายมีความจุ (capacity) และความคล่องตัว (flexibility) ที่มากขึ้น การใช้ WDM ทำให้การวางแผนเครือข่ายต้องเปลี่ยนแปลงไป เครือข่ายซับซ้อนและยากขึ้น ทั้งนี้แรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้มาจากความต้องการใช้แบนด์วิดท์มากขึ้นของวงจรเชื่อมโยงระหว่างประเทศ (มีต่อ)Summary: และต้องการให้สามารถใช้วงจรได้โดยตลอดไม่บกพร่อง WDM ทำให้ความจุถูกเพิ่มมากขึ้น แนวโน้มของการพัฒนาเครือข่ายใต้ทะเล การพัฒนาเครือข่ายใต้ทะเลมีการเพิ่มความยาวคลื่นเพื่อเพิ่มความจุให้กับระบบมากขึ้นและมีการนำ wavelenght add/drop multiplexing เข้ามาใช้ใน branching unit ที่อยู่ใต้ทะเล ซึ่ง branching unit ในอนาคต อาจจะต้องสามารถเลือกดึงช่องสัญญาณใดช่องสัญญาณหนึ่งหรือมากกว่าจากความยาวคลื่นใดๆ ในจำนวน 10-40 ความยาวคลื่น (มีต่อ)Summary: ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความจุรวมของระบบทั้งหมดและอัตราบิทของแต่ละช่องสัญญาณย่อยๆ เทคโนโลยีของการรวมฟังก์ชั่นในระดับแสงในระดับการใช้งานที่สูงขึ้นไป จะเฟ้นสิ่งจำเป็นที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต อาทิ การสวิทซ์ความยาวคลื่นแสงภายใน branching unit เพื่อทำฟังก์ชั่นของ network protection, traffic reconfiguration และ optical routing ทั้งหมดนี้จะก่อให้เกิดความคล่องตัวในการจัดสรรความจุได้มากกว่าที่เป็นมาแต่ก่อน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ปัจจุบันเทคโนโลยี WDM (Wavelenath-Division Multiplexing) ได้ถูกนำมาใช้ในเครือข่ายเคเบิลเส้นใยนำแสงใต้ทะเลที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มศักยภาพของเครือข่าย เช่น ทำให้เครือข่ายมีความจุ (capacity) และความคล่องตัว (flexibility) ที่มากขึ้น การใช้ WDM ทำให้การวางแผนเครือข่ายต้องเปลี่ยนแปลงไป เครือข่ายซับซ้อนและยากขึ้น ทั้งนี้แรงผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้มาจากความต้องการใช้แบนด์วิดท์มากขึ้นของวงจรเชื่อมโยงระหว่างประเทศ (มีต่อ)

และต้องการให้สามารถใช้วงจรได้โดยตลอดไม่บกพร่อง WDM ทำให้ความจุถูกเพิ่มมากขึ้น แนวโน้มของการพัฒนาเครือข่ายใต้ทะเล การพัฒนาเครือข่ายใต้ทะเลมีการเพิ่มความยาวคลื่นเพื่อเพิ่มความจุให้กับระบบมากขึ้นและมีการนำ wavelenght add/drop multiplexing เข้ามาใช้ใน branching unit ที่อยู่ใต้ทะเล ซึ่ง branching unit ในอนาคต อาจจะต้องสามารถเลือกดึงช่องสัญญาณใดช่องสัญญาณหนึ่งหรือมากกว่าจากความยาวคลื่นใดๆ ในจำนวน 10-40 ความยาวคลื่น (มีต่อ)

ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความจุรวมของระบบทั้งหมดและอัตราบิทของแต่ละช่องสัญญาณย่อยๆ เทคโนโลยีของการรวมฟังก์ชั่นในระดับแสงในระดับการใช้งานที่สูงขึ้นไป จะเฟ้นสิ่งจำเป็นที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต อาทิ การสวิทซ์ความยาวคลื่นแสงภายใน branching unit เพื่อทำฟังก์ชั่นของ network protection, traffic reconfiguration และ optical routing ทั้งหมดนี้จะก่อให้เกิดความคล่องตัวในการจัดสรรความจุได้มากกว่าที่เป็นมาแต่ก่อน