เทคโนโลยีการสร้างต้นแบบรวดเร็ว

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เครื่องจักรกล In: พลาสติก ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2544) หน้า 33 - 36Summary: จากสภาวะการแข่งขันในตลาดที่สูงในปัจจุบัน ผู้ผลิตจึงต้องคิดค้นและออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่เป็นที่ต้องการของตลาด เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นขั้นตอนที่ต้องดำเนินการ จากนั้นเป็นขั้นตอนการทำต้นแบบ (prototype) เพื่อดูความเหมาะสมและความสมบูรณ์ของรูปร่างผลิตภัณฑ์ว่าตรงตามความต้องการหรือไม่ ก่อนที่จะนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์จริงทางการค้า ขั้นตอนตั้งแต่การออกแบบจนถึงการผลิตนั้น ถ้าผู้ผลิตสามารถใช้เวลาได้น้อยมากเท่าใด (มีต่อ)Summary: ก็จะยิ่งได้เปรียบคู่แข่ง ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาการต่างๆ เพื่อที่จะช่วยผู้ผลิตในการดำเนินงานให้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ขั้นตอนการออกแบบได้มีการพัฒนาจากเขียนแบบด้วยมือมาใช้คอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า Computer Aided Design (CAD) การใช้ CAD สามารถช่วยให้เขียนแบบได้เร็วขึ้น ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการทำต้นแบบ โดยเทคนิคนี้จะเป็นเทคโนโลยีการเพิ่มเข้า (มีต่อ)Summary: มีชื่อเรียกทั่วไปว่า "เทคโนโลยีการสร้างต้นแบบรวดเร็ว" (Rapid Prototype : RP) โดยเป็นการทำต้นแบบขึ้นจากการเติมเนื้อวัสดุเข้าไปตามลำดับ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์หรือชิ้นงานที่รูปร่างตามต้องการ ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านการสร้างต้นแบบรวดเร็วมี 7 ชนิดคือ 1. Stereolithography (SL) 2.Laminated Object Manufacturing (LOM) 3.Selective Laser Sintering (SLS) 4.Fused Deposition Modeling (FDM) 5.Solid Group (SGC) (มีต่อ)Summary: 6.Ballistic Particle Manufacturing (BPM) 7.Three Dimensional Printing (3DP) ในการที่จะเลือกใช้งานด้วยเทคนิคใดนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่าย ความซับซ้อนของต้นแบบ ระยะเวลาในการผลิต ฯลฯ ซึ่งแต่ละเทคนิคมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไปแต่หากเปรียบเทียบกับการทำต้นแบบผลิตภัณฑ์แบบเก่าแล้ว การสร้างต้นแบบรวดเร็วนี้ถือได้ว่ามีประโยชน์ต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นอย่างมาก
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จากสภาวะการแข่งขันในตลาดที่สูงในปัจจุบัน ผู้ผลิตจึงต้องคิดค้นและออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่เป็นที่ต้องการของตลาด เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นขั้นตอนที่ต้องดำเนินการ จากนั้นเป็นขั้นตอนการทำต้นแบบ (prototype) เพื่อดูความเหมาะสมและความสมบูรณ์ของรูปร่างผลิตภัณฑ์ว่าตรงตามความต้องการหรือไม่ ก่อนที่จะนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์จริงทางการค้า ขั้นตอนตั้งแต่การออกแบบจนถึงการผลิตนั้น ถ้าผู้ผลิตสามารถใช้เวลาได้น้อยมากเท่าใด (มีต่อ)

ก็จะยิ่งได้เปรียบคู่แข่ง ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาการต่างๆ เพื่อที่จะช่วยผู้ผลิตในการดำเนินงานให้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ขั้นตอนการออกแบบได้มีการพัฒนาจากเขียนแบบด้วยมือมาใช้คอมพิวเตอร์ หรือที่เรียกว่า Computer Aided Design (CAD) การใช้ CAD สามารถช่วยให้เขียนแบบได้เร็วขึ้น ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการทำต้นแบบ โดยเทคนิคนี้จะเป็นเทคโนโลยีการเพิ่มเข้า (มีต่อ)

มีชื่อเรียกทั่วไปว่า "เทคโนโลยีการสร้างต้นแบบรวดเร็ว" (Rapid Prototype : RP) โดยเป็นการทำต้นแบบขึ้นจากการเติมเนื้อวัสดุเข้าไปตามลำดับ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์หรือชิ้นงานที่รูปร่างตามต้องการ ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านการสร้างต้นแบบรวดเร็วมี 7 ชนิดคือ 1. Stereolithography (SL) 2.Laminated Object Manufacturing (LOM) 3.Selective Laser Sintering (SLS) 4.Fused Deposition Modeling (FDM) 5.Solid Group (SGC) (มีต่อ)

6.Ballistic Particle Manufacturing (BPM) 7.Three Dimensional Printing (3DP) ในการที่จะเลือกใช้งานด้วยเทคนิคใดนั้นขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นค่าใช้จ่าย ความซับซ้อนของต้นแบบ ระยะเวลาในการผลิต ฯลฯ ซึ่งแต่ละเทคนิคมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันออกไปแต่หากเปรียบเทียบกับการทำต้นแบบผลิตภัณฑ์แบบเก่าแล้ว การสร้างต้นแบบรวดเร็วนี้ถือได้ว่ามีประโยชน์ต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นอย่างมาก