simulation อีกทางเลือกของงานก่อสร้าง / รัชนี พันธ์รุ่งจิตติ, สุพรรณี อรุณเรื่อ

By: รัชนี พันธ์รุ่งจิตติContributor(s): สุพรรณี อรุณเรื่อCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | การก่อสร้าง -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี In: ข่าวช่าง ปีที่ 28 ฉบับที่ 338 (กรกฎาคม 2543) หน้า 53 - 54Summary: ดร.จิรวัฒน์ ดำริห์อนันต์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมการก่อสร้างและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กำลังเป็นผู้หนึ่งที่นำการเพิ่มประสิทธิภาพในงานก่อสร้างด้วยวิธี modeling การสร้างแบบจำลอง และ simulation การทำการเลียนแบบบนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาเป็นทางเลือกใหม่สำหรับวงการก่อสร้าง วิธีการดังกล่าวทำให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ก่อนเหตุการณ์จะเกิดขึ้นจริงได้ ด้วยการสร้างแบบจำลองซึ่งเป็นตัวแทนของกระบวนการจริง (มีต่อ)Summary: แล้วทำการเลียนแบบเปลี่ยนตัวแปรเพื่อดูพฤติกรรมของแบบจำลอง จึงทำให้ทราบถึงผลกระทบต่อระบบการทำงานที่เกิดขึ้นภายใต้ภาวะการณ์และเงื่อนไขที่แปรเปลี่ยนไปตามแต่ผู้ใช้จะกำหนด ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมที่สุดได้ โดยทรัพยากรก็คือ ทุกๆ อย่างที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ทำให้เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายออกมา เช่น วัสดุ เครื่องมือ คนงาน วิศวกร สถาปนิก เงิน เวลา ฯลฯ (มีต่อ)Summary: ซึ่งถ้าสามารถใช้จำนวนทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม ตรงไหนควรจะใช้เท่าไร ก็จะส่งผลให้ต้นทุนการก่อสร้างลดลงหรือแม้กระทั่งอันตรายในการก่อกิจกรรมใหญ่ การสร้างแบบจำลองและการทำการเลียนแบบ จึงมีประโยชน์ก็ตรงที่ทำให้ทั้งทรัพยากรและกระบวนการทำงานมีประสิทธิภาพก็จะสามารถลดต้นทุนการก่อสร้างได้อย่างมหาศาล
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ดร.จิรวัฒน์ ดำริห์อนันต์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมการก่อสร้างและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร กำลังเป็นผู้หนึ่งที่นำการเพิ่มประสิทธิภาพในงานก่อสร้างด้วยวิธี modeling การสร้างแบบจำลอง และ simulation การทำการเลียนแบบบนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาเป็นทางเลือกใหม่สำหรับวงการก่อสร้าง วิธีการดังกล่าวทำให้สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ก่อนเหตุการณ์จะเกิดขึ้นจริงได้ ด้วยการสร้างแบบจำลองซึ่งเป็นตัวแทนของกระบวนการจริง (มีต่อ)

แล้วทำการเลียนแบบเปลี่ยนตัวแปรเพื่อดูพฤติกรรมของแบบจำลอง จึงทำให้ทราบถึงผลกระทบต่อระบบการทำงานที่เกิดขึ้นภายใต้ภาวะการณ์และเงื่อนไขที่แปรเปลี่ยนไปตามแต่ผู้ใช้จะกำหนด ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมที่สุดได้ โดยทรัพยากรก็คือ ทุกๆ อย่างที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ทำให้เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้ายออกมา เช่น วัสดุ เครื่องมือ คนงาน วิศวกร สถาปนิก เงิน เวลา ฯลฯ (มีต่อ)

ซึ่งถ้าสามารถใช้จำนวนทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม ตรงไหนควรจะใช้เท่าไร ก็จะส่งผลให้ต้นทุนการก่อสร้างลดลงหรือแม้กระทั่งอันตรายในการก่อกิจกรรมใหญ่ การสร้างแบบจำลองและการทำการเลียนแบบ จึงมีประโยชน์ก็ตรงที่ทำให้ทั้งทรัพยากรและกระบวนการทำงานมีประสิทธิภาพก็จะสามารถลดต้นทุนการก่อสร้างได้อย่างมหาศาล