การประเมินค่าอัตราพันธุกรรมต่อการเจริญเติบโตของหอยตะโกรมดำ Crassostrea lugubris : เลี้ยงรวมครอบครัวและแยกครอบครัว / รุ่งตะวัน พนากุลชัยวิทย์, เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์, สุภัทรา อุไรวรรณ์

By: รุ่งตะวัน พนากุลชัยวิทย์Contributor(s): เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ | สุภัทรา อุไรวรรณ์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | หอยตะโกรมกรามดำ -- วิจัย In: พระจอมเกล้าลาดกระบัง ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (สิงหาคม 2543) หน้า 1 - 8Summary: สุ่มพ่อพันธุ์หอยตะโกรมกรามดำจำนวน 7ตัว และแม่พันธุ์จำนวน 16ตัว เพื่อผลิตลูกหอยจำนวน 16ครอบครัวในเดือนพฤษภาคม 2539 เมื่อลูกหอยตะโกรมกรามดำอายุได้ 120วัน ติดเบอร์เป็นรายตัวและสุ่มลูกหอยเหล่านี้ออกเป็น 2ชุดการทดลอง โดยชุดที่1 เลี้ยงลูกหอยทุกครอบครัวรวมกัน และชุดที่2 เลี้ยงลูกหอยแยกแต่ละครอบครัวโดยเลี้ยงลูกหอยในถุงอวนตาข่ายที่แขวนไว้ในระบบน้ำไหลผ่าน พบว่าหอยตะโกรมดำที่อายุ 150, 180, และ 210วัน มีความกว้างเปลือกไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) (มีต่อ)Summary: แต่พบว่าการเติบโตของน้ำหนักทั้งเปลือกที่อายุ 150และ 210วัน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และไม่พบความแตกต่างระหว่างอัตราการรอดตายของทั้ง 2 ชุดการทดลอง (p>0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าค่าสหสัมพันธ์ของ 2ชุด การทดลองเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งของความกว้างเปลือกและน้ำหนักทั้งเปลือกที่อายุ 210วันด้วยวิธี half-sib analysis พบว่าหอยตะโกรมกรามดำชุดที่1 มีค่าเท่ากับ 0.48+-0.337 (n=422) และ0.40+-0.325(n=422) ตามลำดับ สำหรับชุดที่2 มีค่าเท่ากับ 0.27+-0.375 (n=436) และ 0.39+-0.390 (n=436) ตามลำดับ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

สุ่มพ่อพันธุ์หอยตะโกรมกรามดำจำนวน 7ตัว และแม่พันธุ์จำนวน 16ตัว เพื่อผลิตลูกหอยจำนวน 16ครอบครัวในเดือนพฤษภาคม 2539 เมื่อลูกหอยตะโกรมกรามดำอายุได้ 120วัน ติดเบอร์เป็นรายตัวและสุ่มลูกหอยเหล่านี้ออกเป็น 2ชุดการทดลอง โดยชุดที่1 เลี้ยงลูกหอยทุกครอบครัวรวมกัน และชุดที่2 เลี้ยงลูกหอยแยกแต่ละครอบครัวโดยเลี้ยงลูกหอยในถุงอวนตาข่ายที่แขวนไว้ในระบบน้ำไหลผ่าน พบว่าหอยตะโกรมดำที่อายุ 150, 180, และ 210วัน มีความกว้างเปลือกไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) (มีต่อ)

แต่พบว่าการเติบโตของน้ำหนักทั้งเปลือกที่อายุ 150และ 210วัน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และไม่พบความแตกต่างระหว่างอัตราการรอดตายของทั้ง 2 ชุดการทดลอง (p>0.05) นอกจากนี้ยังพบว่าค่าสหสัมพันธ์ของ 2ชุด การทดลองเป็นไปในทิศทางเดียวกันทั้งของความกว้างเปลือกและน้ำหนักทั้งเปลือกที่อายุ 210วันด้วยวิธี half-sib analysis พบว่าหอยตะโกรมกรามดำชุดที่1 มีค่าเท่ากับ 0.48+-0.337 (n=422) และ0.40+-0.325(n=422) ตามลำดับ สำหรับชุดที่2 มีค่าเท่ากับ 0.27+-0.375 (n=436) และ 0.39+-0.390 (n=436) ตามลำดับ