เครื่องดักหมอก, ทรงเรียกคืนวิถีปากพนัง / ชาติบุตร บุณยะจิตติ

By: ชาติบุตร บุณยะจิตติCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ In: โลกใบใหม่ ปีที่ 10 ฉบับที่ 23 (ธันวาคม 2542) หน้า 54-56Summary: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากหมอกที่ลอยในอากาศเพื่อให้กลายเป็นหยดน้ำหล่อเลี้ยงต้นไม้ได้ ซึ่งวิธีการทำเครื่องดักหมอกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สามารถทำได้ 4วิธี วิธีแรก ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายและราคาถูก เช่น ตาข่ายไนล่อน เสื่อลำแพน ถุงปุ๋ย มาเป็นอุปกรณ์ทำเครื่องดักหมอก วิธีที่สอง สร้างแผงขึงด้วยวัสดุดังกล่าวดักไอน้ำจากหมอก โดยวางให้ตั้งฉากกับทิศทางลมพัด วิธีที่สาม อาจทำเครื่องดักหมอกให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น (มีต่อ)Summary: เช่นติดตั้งแผงดักหมอกไว้บนกังหันลมเพื่อให้หันลู่ลมตลอดเวลา หรืออาจทำลักษณะอ่อนตัวเพื่อมิให้แผงโค่นล้มยามลมพัดแรงได้ วิธีที่สี่ ไอน้ำจากหมอกอาจกระทบกับแผงดักหมอก ก่อให้เกิดลักษณะเป็นหยดน้ำ น้ำที่เกิดขึ้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกป่า อาจไม่ต้องเอาใจใส่ดูแลรดน้ำมากนัก เพราะได้หยดน้ำจากธรรมชาติที่ช่วยเหลืออยู่แล้ว พื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันมีสภาพปัญหาหลายอย่าง และปัญหาที่สำคัญในเวลานี้คือ อิทธิพลของน้ำทะเล (มีต่อ)Summary: ลุกล้ำเข้าไปในแม่น้ำปากพนัง สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นและเคยเกิดอุทกภัยขึ้นมาแล้วเมื่อคราวปี 2531 นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงมีพระราชดำริให้ทางกรมชลประทานดำเนินการสร้างประตูระบายน้ำปิดแม่น้ำปากพนังเป็นอันดับแรก การดำเนินการก่อสร้างประตูระบายน้ำแบ่งเป็นงานหลัก 2ส่วน คือ งานก่อสร้างระบบชลประทานและงานด้านการพัฒนาการเกษตรและติดตามผลกระทบสิ่งแวดล้อมงานก่อสร้างระบบชลประทาน แบ่งออกเป็น 4กิจกรรม (มีต่อ)Summary: คือ 1.งานก่อสร้างประตูระบายน้ำปากพนังและอาคารประกอบ 2.งานก่อสร้างระบบระบายน้ำ 3.งานก่อสร้างค้นแบ่งเขตน้ำจืด-น้ำเค็ม และSummary: ซึ่งใช้สำหรับอุปโภค - บริโภค และการเกษตร 4. ลดปัญหาการเกิดดินเปรี้ยว 5.สามารถส่งน้ำในพื้นที่การเกษตรประมาณ 521,000 ไร่ 6.ปัญหาการขัดแย้งในการประกอบอาชีพนากุ้ง นาข้าว 7. เป็นแหล่งประมงน้ำจืดขนาดใหญ่และเป็นแหล่งท่องเที่ยว
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากหมอกที่ลอยในอากาศเพื่อให้กลายเป็นหยดน้ำหล่อเลี้ยงต้นไม้ได้ ซึ่งวิธีการทำเครื่องดักหมอกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สามารถทำได้ 4วิธี วิธีแรก ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายและราคาถูก เช่น ตาข่ายไนล่อน เสื่อลำแพน ถุงปุ๋ย มาเป็นอุปกรณ์ทำเครื่องดักหมอก วิธีที่สอง สร้างแผงขึงด้วยวัสดุดังกล่าวดักไอน้ำจากหมอก โดยวางให้ตั้งฉากกับทิศทางลมพัด วิธีที่สาม อาจทำเครื่องดักหมอกให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น (มีต่อ)

เช่นติดตั้งแผงดักหมอกไว้บนกังหันลมเพื่อให้หันลู่ลมตลอดเวลา หรืออาจทำลักษณะอ่อนตัวเพื่อมิให้แผงโค่นล้มยามลมพัดแรงได้ วิธีที่สี่ ไอน้ำจากหมอกอาจกระทบกับแผงดักหมอก ก่อให้เกิดลักษณะเป็นหยดน้ำ น้ำที่เกิดขึ้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกป่า อาจไม่ต้องเอาใจใส่ดูแลรดน้ำมากนัก เพราะได้หยดน้ำจากธรรมชาติที่ช่วยเหลืออยู่แล้ว พื้นที่ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ปัจจุบันมีสภาพปัญหาหลายอย่าง และปัญหาที่สำคัญในเวลานี้คือ อิทธิพลของน้ำทะเล (มีต่อ)

ลุกล้ำเข้าไปในแม่น้ำปากพนัง สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นและเคยเกิดอุทกภัยขึ้นมาแล้วเมื่อคราวปี 2531 นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงมีพระราชดำริให้ทางกรมชลประทานดำเนินการสร้างประตูระบายน้ำปิดแม่น้ำปากพนังเป็นอันดับแรก การดำเนินการก่อสร้างประตูระบายน้ำแบ่งเป็นงานหลัก 2ส่วน คือ งานก่อสร้างระบบชลประทานและงานด้านการพัฒนาการเกษตรและติดตามผลกระทบสิ่งแวดล้อมงานก่อสร้างระบบชลประทาน แบ่งออกเป็น 4กิจกรรม (มีต่อ)

คือ 1.งานก่อสร้างประตูระบายน้ำปากพนังและอาคารประกอบ 2.งานก่อสร้างระบบระบายน้ำ 3.งานก่อสร้างค้นแบ่งเขตน้ำจืด-น้ำเค็ม และ

ซึ่งใช้สำหรับอุปโภค - บริโภค และการเกษตร 4. ลดปัญหาการเกิดดินเปรี้ยว 5.สามารถส่งน้ำในพื้นที่การเกษตรประมาณ 521,000 ไร่ 6.ปัญหาการขัดแย้งในการประกอบอาชีพนากุ้ง นาข้าว 7. เป็นแหล่งประมงน้ำจืดขนาดใหญ่และเป็นแหล่งท่องเที่ยว