สาหร่ายที่ไม่ทำลายระบบนิเวศ / นิตยา พัฒนรัชต์

By: นิตยา พัฒนรัชต์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | สาหร่าย In: เทคโนโลยี ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2542) หน้า 19Summary: กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ ชาวญี่ปุ่น ได้มีการพัฒนา นำสาหร่าย blus-green algan มาขับไล่ คาร์บอนไดออกไซด์ จากอากาศ และเพื่อใช้ ผลิตพลาสติก ที่ย่อยสลายได้ ในปริมาณมากๆ การค้นพบนี้ สามารถนำไป ใช้ประโยชน์ ในการ ลดการแผ่กระจาย ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นแก๊ส ตัวสำคัญSummary: ที่ทำให้เกิด green house effect กลุ่มนักวิทยาศาสตร์นี้ ได้สร้างสายพันธุ์ของสาหร่าย blue green algae ผ่านทางพันธุวิศวกรรม ไว้ก่อนแล้วในปี 1996 สาหร่ายนี้ จะนำพายีนส์ไปให้ enzyme ที่สามารถผลิต polyhydroxybutyric acid ซึ่งเป็นพลาสติก ชนิดหนึ่ง ที่สามารถสลายตัวได้เอง เมื่อสาหร่าย ถูกต้องกับแสงแล้ว ก็จะสังเคราะห์ พลาสติกที่ย่อยสลายได้ โดยการใช้ คาร์บอนไดออกไซด์ (มีต่อ)Summary: และน้ำ เสมือนกับเป็นอิฐก่อสร้างทางโมเลกุล หลังจากการที่ได้ค้นพบว่าสาหร่ายสามารถผลิตพลาสติกดังกล่าวได้เพียงปริมาณน้อยนั้น กลุ่มนักวิจัยจึงได้ทำการปรับเปลี่ยนสภาวะการผลิตพลาสติกของสาหร่ายใหม่ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น การปรับเปลี่ยนสภาวะ(มีต่อ)Summary: ดังกล่าวนี้ได้พิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพผลดี พลาสติกที่ย่อยสลายได้นี้สามารถถูกผลิตขึ้นในจำนวนมากกว่า 10% ของน้ำหนักแห้ง โดยการหมุนเวียนสาหร่ายระหว่างสภาวะที่มีแสงมีอากาศถ่ายเท และสภาวะที่ไม่มีแสงไม่มีออกซิเจน สาหร่ายชนิดนี้สามารถถูกเพาะขึ้นได้(มีต่อ)Summary: ในโรงงานเพื่อป้องกันมิให้คาร์บอนไดออกไซด์หนีเข้าไปในขั้นบรรยากาศ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ ชาวญี่ปุ่น ได้มีการพัฒนา นำสาหร่าย blus-green algan มาขับไล่ คาร์บอนไดออกไซด์ จากอากาศ และเพื่อใช้ ผลิตพลาสติก ที่ย่อยสลายได้ ในปริมาณมากๆ การค้นพบนี้ สามารถนำไป ใช้ประโยชน์ ในการ ลดการแผ่กระจาย ของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นแก๊ส ตัวสำคัญ

ที่ทำให้เกิด green house effect กลุ่มนักวิทยาศาสตร์นี้ ได้สร้างสายพันธุ์ของสาหร่าย blue green algae ผ่านทางพันธุวิศวกรรม ไว้ก่อนแล้วในปี 1996 สาหร่ายนี้ จะนำพายีนส์ไปให้ enzyme ที่สามารถผลิต polyhydroxybutyric acid ซึ่งเป็นพลาสติก ชนิดหนึ่ง ที่สามารถสลายตัวได้เอง เมื่อสาหร่าย ถูกต้องกับแสงแล้ว ก็จะสังเคราะห์ พลาสติกที่ย่อยสลายได้ โดยการใช้ คาร์บอนไดออกไซด์ (มีต่อ)

และน้ำ เสมือนกับเป็นอิฐก่อสร้างทางโมเลกุล หลังจากการที่ได้ค้นพบว่าสาหร่ายสามารถผลิตพลาสติกดังกล่าวได้เพียงปริมาณน้อยนั้น กลุ่มนักวิจัยจึงได้ทำการปรับเปลี่ยนสภาวะการผลิตพลาสติกของสาหร่ายใหม่ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น การปรับเปลี่ยนสภาวะ(มีต่อ)

ดังกล่าวนี้ได้พิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพผลดี พลาสติกที่ย่อยสลายได้นี้สามารถถูกผลิตขึ้นในจำนวนมากกว่า 10% ของน้ำหนักแห้ง โดยการหมุนเวียนสาหร่ายระหว่างสภาวะที่มีแสงมีอากาศถ่ายเท และสภาวะที่ไม่มีแสงไม่มีออกซิเจน สาหร่ายชนิดนี้สามารถถูกเพาะขึ้นได้(มีต่อ)

ในโรงงานเพื่อป้องกันมิให้คาร์บอนไดออกไซด์หนีเข้าไปในขั้นบรรยากาศ