การพัฒนามาตรฐานสินค้าไทยสู่สากล / โยธิน เปรมปราณีรัชต์

By: โยธิน เปรมปราณีรัชต์Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม -- มาตรฐาน | สินค้าไทย -- มาตรฐาน In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 (กันยายน-ตุลาคม 2543) หน้า 68 - 70Summary: การส่งสินค้าออกของไทยเป็นหัวใจหลักของอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบัน รายได้ของประเทศส่วนใหญ่ถึง 85% ได้จากสินค้าส่งออก และหนึ่งในสามของรายได้ดังกล่าวเป็นสินค้าอุตสาหกรรมส่งออกจำพวกไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ ปัญหาที่มักพบคือ เรื่องการจัดระบบคุณภาพของระบบงานการผลิตและการปฏิบัติตามเงื่อนไข (มีต่อ)Summary: ของผู้นำเข้า ปัจจุบันการส่งออกของสินค้าไทยประเภทไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในอุตสาหกรรมนั้นเป็นการรับจ้างผลิต โดยที่คนไทยไม่ได้เป็นเจ้าของสินค้า ทำการผลิตเพียงเพื่อค่าจ้างแรงงาน ผู้ประกอบการจะเป็นบริษัทข้ามชาติที่มาลงทุนในไทย ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับคือ การจ้างแรงงาน(Labor Intensive) ไม่มีการ (มีต่อ)Summary: จ้าง สินค้าที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้นโดยคนไทยหรืออาจจะร่วมหุ้นกับชาวต่างชาติก็ตาม เป็นอุตสาหกรรมที่มีการออกแบบวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในเมืองไทย ใช้วัสดุและอุปกรณ์ภายในประเทศเป็นส่วนใหญ่ มียี่ห้อสินค้าเป็นของไทยจะทำให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นมาก สินค้าในลักษณะนี้จะมีเพียง 5% เท่านั้น ถ้าหากรัฐบาลมี (มีต่อ)Summary: ระบบบางอย่างมารองรับสนับสนุนการพัฒนามาตรฐานสินค้าไทยที่เป้นรูปธรรม ก็จะทำให้สินค้าที่ผลิตสามารถแข่งขันได้เพิ่มขึ้น ซึ่งทางศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ NECTEC ตระหนักถึงความจำเป็นดังกล่าวจึงได้ร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จัดตั้งห้องปฏิบัติการและ (มีต่อ)Summary: บริการทดสอบคลื่นสนามแม่เหล็กขึ้นในปี 2538 และในช่วงปี 2538-2540 ได้ช่วยเหลือผู้ประกอบการของคนไทยได้มากกว่า 20บริษัท ในการทดสอบ (มีต่อ)Summary: มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน FCC และ CISPR เพื่อแก้ไขปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้เท่าเทียมมาตรฐานสากล
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การส่งสินค้าออกของไทยเป็นหัวใจหลักของอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบัน รายได้ของประเทศส่วนใหญ่ถึง 85% ได้จากสินค้าส่งออก และหนึ่งในสามของรายได้ดังกล่าวเป็นสินค้าอุตสาหกรรมส่งออกจำพวกไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ ปัญหาที่มักพบคือ เรื่องการจัดระบบคุณภาพของระบบงานการผลิตและการปฏิบัติตามเงื่อนไข (มีต่อ)

ของผู้นำเข้า ปัจจุบันการส่งออกของสินค้าไทยประเภทไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในอุตสาหกรรมนั้นเป็นการรับจ้างผลิต โดยที่คนไทยไม่ได้เป็นเจ้าของสินค้า ทำการผลิตเพียงเพื่อค่าจ้างแรงงาน ผู้ประกอบการจะเป็นบริษัทข้ามชาติที่มาลงทุนในไทย ผลประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับคือ การจ้างแรงงาน(Labor Intensive) ไม่มีการ (มีต่อ)

จ้าง สินค้าที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้นโดยคนไทยหรืออาจจะร่วมหุ้นกับชาวต่างชาติก็ตาม เป็นอุตสาหกรรมที่มีการออกแบบวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในเมืองไทย ใช้วัสดุและอุปกรณ์ภายในประเทศเป็นส่วนใหญ่ มียี่ห้อสินค้าเป็นของไทยจะทำให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นมาก สินค้าในลักษณะนี้จะมีเพียง 5% เท่านั้น ถ้าหากรัฐบาลมี (มีต่อ)

ระบบบางอย่างมารองรับสนับสนุนการพัฒนามาตรฐานสินค้าไทยที่เป้นรูปธรรม ก็จะทำให้สินค้าที่ผลิตสามารถแข่งขันได้เพิ่มขึ้น ซึ่งทางศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ NECTEC ตระหนักถึงความจำเป็นดังกล่าวจึงได้ร่วมมือกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จัดตั้งห้องปฏิบัติการและ (มีต่อ)

บริการทดสอบคลื่นสนามแม่เหล็กขึ้นในปี 2538 และในช่วงปี 2538-2540 ได้ช่วยเหลือผู้ประกอบการของคนไทยได้มากกว่า 20บริษัท ในการทดสอบ (มีต่อ)

มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน FCC และ CISPR เพื่อแก้ไขปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้เท่าเทียมมาตรฐานสากล