เศรษฐกิจ ไม่พึ่งพา รักษาข้าวปลา ให้เป็นไทย / สมพงษ์ พรมสะอาด

By: สมพงษ์ พรมสะอาดCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | เศรษฐกิจ In: โลกสีเขียว ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2543) หน้า 14 - 15Summary: หลังการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ผิดพลาดสังคมไทยตกอยู่ในภาวะที่ยากลำบากที่สุด และขณะที่บางส่วนหวังจะใช้ทรัพยากรและมรดกทางภูมิปัญญาบรรพบุรุษเพอกอบกู้ความเป็นไทคืนให้บ้านเมืองนั้นกลับมีความเคลื่อนไหวในหลายยุทธวิธีรวมทั้งความพยายาม ที่จะนำเอาพืชจีเอ็มโอเข้าประเทศซึ่งอาจทำให้ไทยต้องสูญเสียจุดแข็ง (มีต่อ)Summary: สุดท้ายอย่างไม่ทันตั้งตัว ความตื่นตัวเพื่อปกป้องทรัพยากรชีวภาพจึงเป็นหนทางแห่งการรักษาสถานภาพแห่งการพึ่งพิงตนเองเอาไว้ การรณรงค์ระดับชาติภายใต้ชื่อ "โครงการรณรงค์สัญจรปกป้องพันธุกรรมพื้นเมือง" ตั้งต้นขึ้นบนฐานข้อเท็จจริงที่ว่ามีการพยาพามนำจีเอ็มโอเข้ามายังประเทศไทยทั้งๆ ที่ ณ วันนี้ยังไม่มี (มีต่อ)Summary: คำตอบอย่างแน่ชัดในเรื่องความปลอดภัยของจีเอ็มโอต่อมนุษย์ การกระจายข้ามพันธุ์ที่พร้อมจะกลืนกินพันธุ์พืชที่บรรพบุรุษเราใช้เวลานับพันๆ ปีพัฒนาจนมีคุณภาพระดับโลกผนวกกับความน่าสงสัยในประเด็นการผูกขาดทางการค้า ซึ่งทั่วโลกต่างจับตาติดตามและสังเกตอย่างใกล้ชิด องค์กรประชาสังคมและองค์กรมหาชนทั่ว (มีต่อ)Summary: ประเทศประมาณเกือบ 200องค์กร นำโดยเครือข่ายสิทธิภูมิปัญญาไทย หรือ "ไบโอไทย" จึงร่วมมือกันนำข้อมูลอีกด้านออกสู่สายตาประชาชนทั่วประเทศ ภายใต้คำขวัญ "เศรษฐกิจไม่พึ่งพา รักษาข้าวปลาให้เป็นไท" เพื่อให้ปัญหาเรื่องจีเอ็มโอเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกคนต้องช่วยคิดและหาทางออก นอกจากนี้ยังมีวิทยากรรับเชิญ (มีต่อ)Summary: จากบางประเทศในเอเชียอาคเนย์ เอเชียใต้ และยุโรป เข้าร่วมให้ข้อมูลสังเกตการณ์เพื่อให้เกิดเป็นความร่วมมือในระดับภูมิภาค การรณรงค์ในครั้งนี้ประเด็นหลักคือ การละเมิดสิทธิชุมชน การละเมิดสิทธิผู้บริโภค และการละเมิดหลักจริยธรรม-ศาสนา ส่วนบทสรุปจากทุกภาคที่ว่าสินค้าและพืชที่ผ่านกระบวนการจีเอ็มโอเป็นอันตราย (มีต่อ)Summary: ในระยะยาวต่อพันธุ์พื้นเมืองและความหลากหลายทางชีวภาพได้นำมาซึ่งการประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันให้ประเทศไทยเป็นเขตปลอดจีเอ็มโอจนกว่าความสงสัยต่อประโยชน์และโทษในทุกๆ ข้อจะไม่มีอยู่อีกต่อไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

หลังการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ผิดพลาดสังคมไทยตกอยู่ในภาวะที่ยากลำบากที่สุด และขณะที่บางส่วนหวังจะใช้ทรัพยากรและมรดกทางภูมิปัญญาบรรพบุรุษเพอกอบกู้ความเป็นไทคืนให้บ้านเมืองนั้นกลับมีความเคลื่อนไหวในหลายยุทธวิธีรวมทั้งความพยายาม ที่จะนำเอาพืชจีเอ็มโอเข้าประเทศซึ่งอาจทำให้ไทยต้องสูญเสียจุดแข็ง (มีต่อ)

สุดท้ายอย่างไม่ทันตั้งตัว ความตื่นตัวเพื่อปกป้องทรัพยากรชีวภาพจึงเป็นหนทางแห่งการรักษาสถานภาพแห่งการพึ่งพิงตนเองเอาไว้ การรณรงค์ระดับชาติภายใต้ชื่อ "โครงการรณรงค์สัญจรปกป้องพันธุกรรมพื้นเมือง" ตั้งต้นขึ้นบนฐานข้อเท็จจริงที่ว่ามีการพยาพามนำจีเอ็มโอเข้ามายังประเทศไทยทั้งๆ ที่ ณ วันนี้ยังไม่มี (มีต่อ)

คำตอบอย่างแน่ชัดในเรื่องความปลอดภัยของจีเอ็มโอต่อมนุษย์ การกระจายข้ามพันธุ์ที่พร้อมจะกลืนกินพันธุ์พืชที่บรรพบุรุษเราใช้เวลานับพันๆ ปีพัฒนาจนมีคุณภาพระดับโลกผนวกกับความน่าสงสัยในประเด็นการผูกขาดทางการค้า ซึ่งทั่วโลกต่างจับตาติดตามและสังเกตอย่างใกล้ชิด องค์กรประชาสังคมและองค์กรมหาชนทั่ว (มีต่อ)

ประเทศประมาณเกือบ 200องค์กร นำโดยเครือข่ายสิทธิภูมิปัญญาไทย หรือ "ไบโอไทย" จึงร่วมมือกันนำข้อมูลอีกด้านออกสู่สายตาประชาชนทั่วประเทศ ภายใต้คำขวัญ "เศรษฐกิจไม่พึ่งพา รักษาข้าวปลาให้เป็นไท" เพื่อให้ปัญหาเรื่องจีเอ็มโอเป็นวาระแห่งชาติที่ทุกคนต้องช่วยคิดและหาทางออก นอกจากนี้ยังมีวิทยากรรับเชิญ (มีต่อ)

จากบางประเทศในเอเชียอาคเนย์ เอเชียใต้ และยุโรป เข้าร่วมให้ข้อมูลสังเกตการณ์เพื่อให้เกิดเป็นความร่วมมือในระดับภูมิภาค การรณรงค์ในครั้งนี้ประเด็นหลักคือ การละเมิดสิทธิชุมชน การละเมิดสิทธิผู้บริโภค และการละเมิดหลักจริยธรรม-ศาสนา ส่วนบทสรุปจากทุกภาคที่ว่าสินค้าและพืชที่ผ่านกระบวนการจีเอ็มโอเป็นอันตราย (มีต่อ)

ในระยะยาวต่อพันธุ์พื้นเมืองและความหลากหลายทางชีวภาพได้นำมาซึ่งการประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันให้ประเทศไทยเป็นเขตปลอดจีเอ็มโอจนกว่าความสงสัยต่อประโยชน์และโทษในทุกๆ ข้อจะไม่มีอยู่อีกต่อไป