ระบบรักษาความปลอดภัยในธุรกิจ E-Commerce

Call Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ In: ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 (กันยายน-ตุลาคม 2543) หน้า 79 - 82Summary: กระแสการค้ายุค E-Commerce มีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันของคนเรามากขึ้นเนื่องจากตอบสนองความต้องการซื้อสินค้าอย่างรวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้บริโภคประกอบกับมีสินค้าหลากหลายเลือกชมได้ตลอด 24ชั่วโมง ในประเทศไทยกระแสการค้า E-Commerce เริ่มส่งสัญญาณความแรงตั้งแต่ปลายปี 2542 เป็นต้นมา เนื่องจาก (มีต่อ)Summary: ปริมาณการใช้อินเตอร์เน็ตในประเทศไทยขยายตัวอย่างรวดเร็ว และเป็นที่น่าสังเกตว่าผู้ประกอบการที่เข้ามาทำธุรกิจ E-Commerce ล้วนแล้วเป็นคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้และเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีเป็นตัวกลางโฆษณาขายสินค้าของตนเอง ปัจจุบันไม่เฉพาะภาคเอกชนเท่านั้นที่เล็งเห็นความสำคัญของธุรกิจนี้ ในส่วนของรัฐบาล (มีต่อ)Summary: เองก็พยายามสนับสนุน รวมทั้งออกมาตรการสนับสนุนเพื่อให้การค้า E-Commerce ในประเทศทัดเทียมกับต่างประเทศ และได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจE-Commerce ทั้งสิ้น 6ฉบับด้วยกัน และจะนำมาใช้ก่อน 2ฉบับ เพื่อให้ทันกับกระแส E-Commerce ในปัจจุบันคือ กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายธุรกรรมบนอินเตอร์เน็ต (มีต่อ)Summary: ธุรกิจ E-Commerce ประสบปัญหาที่สำคัญคือ การใช้อินเตอร์เน็ตเป็นตัวเชื่อม จะมีหลายเว็บไซค์ประสบปัญหาแฮกเกอร์ (Hacker) เข้ามาโจรกรรมข้อมูลก่อให้เกิดความเสียหายตามมาอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นบริษัท ไอบีเอ็มได้ออกโปรแกรมรักษาความปลอดภัยชื่อ Tivoli Solution Architect เพื่อป้องกันปัญหาการขโมยข้อมูล (มีต่อ)Summary: รวมทั้งการป้องกันไวรัสจากผู้ไม่หวังดี ขณะเดียวกันบริษัทโคแอม อินเตอร์เนชั่นแนล คอนซัลติ่ง ไทยแลนด์จำกัด ได้เสนอซอฟต์แวร์ระบบรักษาความปลอดภัยสำหรับการค้าและได้ทดลองติดตั้งกับหลายบริษัทแล้ว นอกจากนี้ยังมีบริษัทคอมพิวเตอร์แอสโซซิเอทส์ (มีต่อ)Summary: แอสโซซิเอทส์ อินเตอร์เนชั่นแนล อิงค์ ร่วมกับ ไซเบอร์การ์ด คอร์ปอเรชั่น เสนอโซลูชั่น รวมระบบป้องกันการบุกรุก ระบบการป้องกันไวรัสและระบบ Firewall เพื่อปกป้องระบบข้อมูลที่สำคัญ จากการจู่โจมทั้งจากแฮกเกอร์ และไวรัสที่มาจากในเครือข่าย หรือนอกเครือข่าย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

กระแสการค้ายุค E-Commerce มีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันของคนเรามากขึ้นเนื่องจากตอบสนองความต้องการซื้อสินค้าอย่างรวดเร็ว และตรงกับความต้องการของผู้บริโภคประกอบกับมีสินค้าหลากหลายเลือกชมได้ตลอด 24ชั่วโมง ในประเทศไทยกระแสการค้า E-Commerce เริ่มส่งสัญญาณความแรงตั้งแต่ปลายปี 2542 เป็นต้นมา เนื่องจาก (มีต่อ)

ปริมาณการใช้อินเตอร์เน็ตในประเทศไทยขยายตัวอย่างรวดเร็ว และเป็นที่น่าสังเกตว่าผู้ประกอบการที่เข้ามาทำธุรกิจ E-Commerce ล้วนแล้วเป็นคนรุ่นใหม่ที่มีความรู้และเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีเป็นตัวกลางโฆษณาขายสินค้าของตนเอง ปัจจุบันไม่เฉพาะภาคเอกชนเท่านั้นที่เล็งเห็นความสำคัญของธุรกิจนี้ ในส่วนของรัฐบาล (มีต่อ)

เองก็พยายามสนับสนุน รวมทั้งออกมาตรการสนับสนุนเพื่อให้การค้า E-Commerce ในประเทศทัดเทียมกับต่างประเทศ และได้ออกกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจE-Commerce ทั้งสิ้น 6ฉบับด้วยกัน และจะนำมาใช้ก่อน 2ฉบับ เพื่อให้ทันกับกระแส E-Commerce ในปัจจุบันคือ กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายธุรกรรมบนอินเตอร์เน็ต (มีต่อ)

ธุรกิจ E-Commerce ประสบปัญหาที่สำคัญคือ การใช้อินเตอร์เน็ตเป็นตัวเชื่อม จะมีหลายเว็บไซค์ประสบปัญหาแฮกเกอร์ (Hacker) เข้ามาโจรกรรมข้อมูลก่อให้เกิดความเสียหายตามมาอยู่บ่อยครั้ง ดังนั้นบริษัท ไอบีเอ็มได้ออกโปรแกรมรักษาความปลอดภัยชื่อ Tivoli Solution Architect เพื่อป้องกันปัญหาการขโมยข้อมูล (มีต่อ)

รวมทั้งการป้องกันไวรัสจากผู้ไม่หวังดี ขณะเดียวกันบริษัทโคแอม อินเตอร์เนชั่นแนล คอนซัลติ่ง ไทยแลนด์จำกัด ได้เสนอซอฟต์แวร์ระบบรักษาความปลอดภัยสำหรับการค้าและได้ทดลองติดตั้งกับหลายบริษัทแล้ว นอกจากนี้ยังมีบริษัทคอมพิวเตอร์แอสโซซิเอทส์ (มีต่อ)

แอสโซซิเอทส์ อินเตอร์เนชั่นแนล อิงค์ ร่วมกับ ไซเบอร์การ์ด คอร์ปอเรชั่น เสนอโซลูชั่น รวมระบบป้องกันการบุกรุก ระบบการป้องกันไวรัสและระบบ Firewall เพื่อปกป้องระบบข้อมูลที่สำคัญ จากการจู่โจมทั้งจากแฮกเกอร์ และไวรัสที่มาจากในเครือข่าย หรือนอกเครือข่าย