ผลระยะยาวของโทลูอีน ต่อสุขภาพของคนงานในโรงงานผลิตสี / ภิรมย์ กมลรัตนกุล ... [และคนอื่นๆ]

Contributor(s): ภิรมย์ กมลรัตนกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | โทลูอีน | สุขภาพและอนามัย In: วิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2543) หน้า 1-17Summary: จากการติดตามศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโทลูอีนกับปัญหาสุขภาพอนามัยของคนงานที่ต้องทำงานสัมผัสโทลูอีนในระยะยาว รูปแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงวิเคราะห์ชนิดไปข้างหน้า สถานที่ทำการศึกษา : โรงงานผลิตสี 3แห่ง ซึ่งมีการบริหารจัดการต่างกัน ตัวอย่างและวิธีการวิจัย : คนงานจากโรงงานสี 3แห่ง ซึ่งได้รับการจำแนกตาม (มีต่อ)Summary: ลักษณะการบริหารจัดการ ว่าเป็นโรงงานที่มีระบบบริหารจัดการที่พอใช้ (โรงงานที่1) ดี (โรงงานที่2) และดีมาก (โรงงานที่3) จะได้รับการติดตามเป้นเวลา 3ปี (พ.ศ.2533-2535) โดยจำนวนคนงานที่ติดตามได้ครบทั้ง 3ปี ในโรงงานทั้งสามเท่ากับ 105, 34และ 128คนตามลำดับ ข้อมูลที่รวบรวมประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของคนงาน (มีต่อ)Summary: เก็บตัวอย่างเลือดและปัสสาวะ ประมาณ 2ชั่วโมงก่อนเลิกงานนำมาตรวจทางเคมีคลีนิก ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณโทลูอีนในเลือด และกรดฮิพพิวริคในปัสสาวะ ผลการศึกษา : คนงานร้อยละ74.5 เป็นชายร้อยละ92.5 มีอายุต่ำกว่า 45ปี และร้อยละ64.8 จบการศึกษาสูงสุดระดับมัธยมศึกษา คนงานโรงงานที่1 มีอัตราเสี่ยงต่อการมีโทลูอีน (มีต่อ)Summary: ในเลือดและกรดฮิพพิวริคในปัสสาวะสูงมากกว่าคนโรงงานที่2และ3 (RR=39, 95% CI=5.4 - 284.0) คนงานในฝ่ายผลิตสีและบรรจุสีมีโทลูอีนในเลือดสูงกว่าคนงานฝ่ายอื่น (X กำลัง2 = 12.1 ; p = 0.005) ผลการศึกษาสุขภาพโดยตรวจทางเคมีคลินิคเป็นเวลา 3ปี (มีต่อ)Summary: ไม่พบแนวโน้มของความผิดปกติที่สัมพันธ์กับการมีระดับโทลูอีนในเลือดสูง (p > 0.05) สรุปผล : การบริหารจัดการในโรงงานผลิตสีมีโอกาสช่วยลดหรือเพิ่มการได้รับสารโทลูอีนเข้าสู่ร่างกายจากการทำงาน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

จากการติดตามศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโทลูอีนกับปัญหาสุขภาพอนามัยของคนงานที่ต้องทำงานสัมผัสโทลูอีนในระยะยาว รูปแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงวิเคราะห์ชนิดไปข้างหน้า สถานที่ทำการศึกษา : โรงงานผลิตสี 3แห่ง ซึ่งมีการบริหารจัดการต่างกัน ตัวอย่างและวิธีการวิจัย : คนงานจากโรงงานสี 3แห่ง ซึ่งได้รับการจำแนกตาม (มีต่อ)

ลักษณะการบริหารจัดการ ว่าเป็นโรงงานที่มีระบบบริหารจัดการที่พอใช้ (โรงงานที่1) ดี (โรงงานที่2) และดีมาก (โรงงานที่3) จะได้รับการติดตามเป้นเวลา 3ปี (พ.ศ.2533-2535) โดยจำนวนคนงานที่ติดตามได้ครบทั้ง 3ปี ในโรงงานทั้งสามเท่ากับ 105, 34และ 128คนตามลำดับ ข้อมูลที่รวบรวมประกอบด้วย ข้อมูลพื้นฐานของคนงาน (มีต่อ)

เก็บตัวอย่างเลือดและปัสสาวะ ประมาณ 2ชั่วโมงก่อนเลิกงานนำมาตรวจทางเคมีคลีนิก ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณโทลูอีนในเลือด และกรดฮิพพิวริคในปัสสาวะ ผลการศึกษา : คนงานร้อยละ74.5 เป็นชายร้อยละ92.5 มีอายุต่ำกว่า 45ปี และร้อยละ64.8 จบการศึกษาสูงสุดระดับมัธยมศึกษา คนงานโรงงานที่1 มีอัตราเสี่ยงต่อการมีโทลูอีน (มีต่อ)

ในเลือดและกรดฮิพพิวริคในปัสสาวะสูงมากกว่าคนโรงงานที่2และ3 (RR=39, 95% CI=5.4 - 284.0) คนงานในฝ่ายผลิตสีและบรรจุสีมีโทลูอีนในเลือดสูงกว่าคนงานฝ่ายอื่น (X กำลัง2 = 12.1 ; p = 0.005) ผลการศึกษาสุขภาพโดยตรวจทางเคมีคลินิคเป็นเวลา 3ปี (มีต่อ)

ไม่พบแนวโน้มของความผิดปกติที่สัมพันธ์กับการมีระดับโทลูอีนในเลือดสูง (p > 0.05) สรุปผล : การบริหารจัดการในโรงงานผลิตสีมีโอกาสช่วยลดหรือเพิ่มการได้รับสารโทลูอีนเข้าสู่ร่างกายจากการทำงาน