ความสำคัญของไอโซเมอร์ของยาบ้า เอฟีดรีน และยาอี / วีรวรรณ เล็กสกุลไชย

By: วีรวรรณ เล็กสกุลไชยCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ไอโซเมอร์ | ยาเสพติด In: วิจัยวิทยาศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2543) หน้า 41 - 57Summary: ยาหลากหลายชนิดทั้งที่พบในตลาดทั่วไปและในตลาดมืด มีคุณสมบัติการเป็นไอโซเมอร์ ยาเสพติดชนิด Amphetamine / Methamphetamine หรือที่รู้จักกันในสังคมไทยว่า "ยาบ้า" หรือ "ยาม้า" ยาเอฟีดรีนและยาอี ก็มีคุณสมบัติการเป็นไอโซเมอร์ ยาเหล่านี้ (มีต่อ)Summary: สามารถผลิตออกมาในรูปไอโซเมอร์ไดไอโซเมอร์หนึ่ง หรือในรูปไอโซเมอร์ผสม ไอโซเมอร์ที่ต่างกันสามารถจับและทำปฏิกิริยากับสารเคมีในร่างกายได้ต่างกัน ในกรณีของยาบ้า d-form เลือกที่จะจับกับ receptor ในสมองทำให้เกิดอาการสุขสบาย (euphoria) เบื่ออาหาร (anorexia) ขยัน-กระปี้กระเป่า (hyperactive) ตื่นตัว (มีต่อ)Summary: (wakeful) ส่วน I-form มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) น้อยกว่า แต่มีผลต่อระบบประสาทส่วนปลาย (PNS) มากกว่า d-form สำหรับยาอี d-form มีผลในการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางคล้ายคลึงกับ d-form ของยาบ้า ขณะที่ I-form มีฤทธิ์ทำให้เกิดอาการประสาทหลอนคล้าย mescaline และ LSD เนื่องจากยาไอโซเมอร์หนึ่ง อาจมีผล (มีต่อ)Summary: ในทางการรักษาโรค ขณะที่อีกไอโซเมอร์หนึ่งอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงหรือภาวะติดยา การทราบถึงผลทางเภสัชวิทยาและทางพิษวิทยาของยาแต่ละไอโซเมอร์ จึงมีประโยชน์ในทางด้านการผลิตยา ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ผลิตยาตัดสินใจว่าจะผลิตยาในรูปของ (มีต่อ)Summary: ไอโซเมอร์บริสุทธิ์ ( ซึ่งต้องเพิ่มทั้งขั้นตอนและต้นทุนการผลิต ) หรือไม่ในทางห้องปฏิบัติการ การมีวิธีวิเคราะห์แยกชนิดและปริมาณของยาแต่ละไอโซเมอร์จะช่วยในการค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนายาให้มี (มีต่อ)Summary: ประสิทธิภาพ และมีประโยชน์ทางนิติเวชศาสตร์ในการตรวจดูว่ามีการใช้ยาอย่างผิดกฎหมายหรือไม่
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

ยาหลากหลายชนิดทั้งที่พบในตลาดทั่วไปและในตลาดมืด มีคุณสมบัติการเป็นไอโซเมอร์ ยาเสพติดชนิด Amphetamine / Methamphetamine หรือที่รู้จักกันในสังคมไทยว่า "ยาบ้า" หรือ "ยาม้า" ยาเอฟีดรีนและยาอี ก็มีคุณสมบัติการเป็นไอโซเมอร์ ยาเหล่านี้ (มีต่อ)

สามารถผลิตออกมาในรูปไอโซเมอร์ไดไอโซเมอร์หนึ่ง หรือในรูปไอโซเมอร์ผสม ไอโซเมอร์ที่ต่างกันสามารถจับและทำปฏิกิริยากับสารเคมีในร่างกายได้ต่างกัน ในกรณีของยาบ้า d-form เลือกที่จะจับกับ receptor ในสมองทำให้เกิดอาการสุขสบาย (euphoria) เบื่ออาหาร (anorexia) ขยัน-กระปี้กระเป่า (hyperactive) ตื่นตัว (มีต่อ)

(wakeful) ส่วน I-form มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) น้อยกว่า แต่มีผลต่อระบบประสาทส่วนปลาย (PNS) มากกว่า d-form สำหรับยาอี d-form มีผลในการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางคล้ายคลึงกับ d-form ของยาบ้า ขณะที่ I-form มีฤทธิ์ทำให้เกิดอาการประสาทหลอนคล้าย mescaline และ LSD เนื่องจากยาไอโซเมอร์หนึ่ง อาจมีผล (มีต่อ)

ในทางการรักษาโรค ขณะที่อีกไอโซเมอร์หนึ่งอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงหรือภาวะติดยา การทราบถึงผลทางเภสัชวิทยาและทางพิษวิทยาของยาแต่ละไอโซเมอร์ จึงมีประโยชน์ในทางด้านการผลิตยา ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ผลิตยาตัดสินใจว่าจะผลิตยาในรูปของ (มีต่อ)

ไอโซเมอร์บริสุทธิ์ ( ซึ่งต้องเพิ่มทั้งขั้นตอนและต้นทุนการผลิต ) หรือไม่ในทางห้องปฏิบัติการ การมีวิธีวิเคราะห์แยกชนิดและปริมาณของยาแต่ละไอโซเมอร์จะช่วยในการค้นคว้าวิจัยเพื่อพัฒนายาให้มี (มีต่อ)

ประสิทธิภาพ และมีประโยชน์ทางนิติเวชศาสตร์ในการตรวจดูว่ามีการใช้ยาอย่างผิดกฎหมายหรือไม่