การใช้สารเคมีควบคุมการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินในข้าวโพด / อาทิตย์ พลายมาศ, สุชีพ สุขสุแพทย์, ศุภรัตน์ โฆษิตเจริญกุล

By: อาทิตย์ พลายมาศContributor(s): สุชีพ สุขสุแพทย์ | ศุภรัตน์ โฆษิตเจริญกุลCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | ข้าวโพด -- วิจัย | สารพิษ In: พระจอมเกล้าลาดกระบัง ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (เมษายน 2543) หน้า 36 - 41Summary: การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดและระดับของสารเคมีที่เหมาะสมในการเก็บรักษาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ชนิดเมล็ดที่ปรับให้มีความชื้น 25% และเก็บรักษาไว้นาน 8สัปดาห์ ที่มีต่อการเจริญของเชื้อรา และการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินในข้าวโพด โดยใช้สารเคมี (มีต่อ)Summary: 2ชนิดที่มีระดับความเข้มข้นต่างๆกันคือ กรดโพรพิโอนิคที่ระดับ 0.2, 0.4, 0.6, 0.8และ0.10% (น.น.ต่อ น.น.) และเกลือโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับ2, 4, 6และ8% (น.น.ต่อ น.น.) เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า กรดโพรพิโอนิคที่ระดับ0.2และ0.4% สามารถควบคุมการสร้างสารพิษ (มีต่อ)Summary: อะฟลาทอกซินบี1 แต่ไม่สามารถควบคุมการเจริญของเชื้อราได้ตลอดการทดลอง 8สัปดาห์ ส่วนที่ระดับ 0.6, 0.8และ1.0% สามารถควบคุมการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินบี1และการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ตลอดการทดลอง 8สัปดาห์ ส่วนการใช้เกลือโซเดียมคลอไรด์ทั้ง 4ระดับ (มีต่อ)Summary: (2,4,6และ8%) พบว่าสามารถควบคุมการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินบี1 แต่ไม่สามารถควบคุมการเจริญของเชื้อราได้ตลอดการทดลอง 8สัปดาห์
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดและระดับของสารเคมีที่เหมาะสมในการเก็บรักษาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ชนิดเมล็ดที่ปรับให้มีความชื้น 25% และเก็บรักษาไว้นาน 8สัปดาห์ ที่มีต่อการเจริญของเชื้อรา และการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินในข้าวโพด โดยใช้สารเคมี (มีต่อ)

2ชนิดที่มีระดับความเข้มข้นต่างๆกันคือ กรดโพรพิโอนิคที่ระดับ 0.2, 0.4, 0.6, 0.8และ0.10% (น.น.ต่อ น.น.) และเกลือโซเดียมคลอไรด์ที่ระดับ2, 4, 6และ8% (น.น.ต่อ น.น.) เมื่อสิ้นสุดการทดลองพบว่า กรดโพรพิโอนิคที่ระดับ0.2และ0.4% สามารถควบคุมการสร้างสารพิษ (มีต่อ)

อะฟลาทอกซินบี1 แต่ไม่สามารถควบคุมการเจริญของเชื้อราได้ตลอดการทดลอง 8สัปดาห์ ส่วนที่ระดับ 0.6, 0.8และ1.0% สามารถควบคุมการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินบี1และการเจริญเติบโตของเชื้อราได้ตลอดการทดลอง 8สัปดาห์ ส่วนการใช้เกลือโซเดียมคลอไรด์ทั้ง 4ระดับ (มีต่อ)

(2,4,6และ8%) พบว่าสามารถควบคุมการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินบี1 แต่ไม่สามารถควบคุมการเจริญของเชื้อราได้ตลอดการทดลอง 8สัปดาห์