ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีและเจตคติต่อการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตการศึกษา5 / สุวิมล เขี้ยวแก้ว, อุสมาน สารี

By: สุวิมล เขี้ยวแก้วContributor(s): อุสมาน สารีCall Number: INDEX Material type: ArticleArticleSubject(s): SCI-TECH | นักเรียน -- การศึกษาและการสอน In: วิทยาศาสตร์ ปีที่ 53 ฉบับที่ 4 (กรกฏาคม-สิงหาคม 2543) หน้า 224 - 237Summary: การวิจัยเรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องปริมาณสารสัมพันธ์2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ที่ได้รับการสอนโดยให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือและการสอนตามคู่มือของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียน (มีต่อ)Summary: แบบร่วมมือ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2541 เขตการศึกษา2 ใช้การสุ่มอย่างง่ายได้นักเรียนจำนวน 272คน เพื่อจัดเป็นกลุ่มควบคุม 136คน และกลุ่มทดลอง 136คน กลุ่มควบคุมได้รับการสอนตามคู่มือครูของ สสวท. กลุ่มทดลองได้รับการสอน (มีต่อ)Summary: โดยให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือ ในแต่ละโรงเรียนมีผู้สอนคนเดียวกันทั้ง 2กลุ่ม ใช้เวลาสอนสัปดาห์ละ 3คาบเป็นเวลา 7สัปดาห์ แบบแผนการวิจัยในครั้งนี้คือ Randomized Control Group Pretest Posttest Design โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีเรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์2 และให้กลุ่มทดลอง (มีต่อ)Summary: ทำแบบวัดเจตคติต่อการเรียนแบบร่วมมือวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การทดสอบที่ (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือและนักเรียนที่ได้รับการสอนตามคู่มือครูของ สสวท. แตกต่างกัน(มีต่อ)Summary: อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 01 โดยกลุ่มนักเรียนที่ได้รับการสอนโดย ให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า และนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
No physical items for this record

การวิจัยเรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องปริมาณสารสัมพันธ์2 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ที่ได้รับการสอนโดยให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือและการสอนตามคู่มือของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียน (มีต่อ)

แบบร่วมมือ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2541 เขตการศึกษา2 ใช้การสุ่มอย่างง่ายได้นักเรียนจำนวน 272คน เพื่อจัดเป็นกลุ่มควบคุม 136คน และกลุ่มทดลอง 136คน กลุ่มควบคุมได้รับการสอนตามคู่มือครูของ สสวท. กลุ่มทดลองได้รับการสอน (มีต่อ)

โดยให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือ ในแต่ละโรงเรียนมีผู้สอนคนเดียวกันทั้ง 2กลุ่ม ใช้เวลาสอนสัปดาห์ละ 3คาบเป็นเวลา 7สัปดาห์ แบบแผนการวิจัยในครั้งนี้คือ Randomized Control Group Pretest Posttest Design โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีเรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์2 และให้กลุ่มทดลอง (มีต่อ)

ทำแบบวัดเจตคติต่อการเรียนแบบร่วมมือวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การทดสอบที่ (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือและนักเรียนที่ได้รับการสอนตามคู่มือครูของ สสวท. แตกต่างกัน(มีต่อ)

อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 01 โดยกลุ่มนักเรียนที่ได้รับการสอนโดย ให้นักเรียนได้เรียนแบบร่วมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า และนักเรียนที่เรียนแบบร่วมมือมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน