TY - SER AU - ปรีชา ยุพาพิน. TI - การมัลติเพลกซ์เชิงความยาวคลื่นสำหรับ ระบบเครือข่ายใยแก้ว บี 2,000 พลัส KW - ใยแก้ว KW - การสื่อสาร KW - SCI-TECH N2 - การสื่อสารเริ่มจากความพยายามของมนุษย์ ในการหาวิธีต่างๆ สำหรับการติดต่อซึ่งกันและกัน ต่อมาใช้สัตว์เป็นพาหนะ เช่น ม้า และช้าง และเรียนรู้วิธีการสื่อสาร ด้วยการใช้สัญญาณ เช่นการใช้ควันไฟและเสียง จนมีการพัฒนาการสื่อสาร ทำให้สามารถติดต่อกันได้ไกลขึ้น (มีต่อ); เช่น โทรเลข โทรศัพท์ และโทรพิมพ์ การสื่อสารสารดังกล่าวเป็นการสื่อสารจุดต่อจุด Point to Point ที่ยังมีข้อจำกัด สำหรับการใช้อยู่มาก ต่อมาพัฒนาไปสู่การสื่อสารหลายจุด Multipoint สามารถติดต่อกว้างขึ้น แต่ก็ยังไม่ทำให้การสื่อสารเกิดประโยชน์เต็มที่ (มีต่อ); จึงได้มีการพัฒนาเป็นการมื่อสารแบบเครือข่าย ( Networks ) เป็นวิธีที่ทำให้สามารถติดต่อกันทั่วถึง เทคโนโลยีระบบการสื่อสารเครือข่าย Communieat Networks system เป็นระบบการสื่อสารที่มีการเชื่อมโยงกันได้ตลอดเวลา เครือข่ายแบบเดิมใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (มีต่อ); หรือแสงความยาวคลื่นเดียว ย่อมมีขีดจำกัดเรื่องความจุของสัญญาน หรือข้อมูลที่ต้องพิมพ์ เป็นผลเกิดประสิทธิภาพของการสื่อสาร ด้วยเทคโนโลยีด้านแสง หรือ ไดโอดเลเซอร์ มีค่าความยาวคลื่นต่างๆ เกือบ 40 ค่า ที่แตกต่างกัน แต่ละความยาวคลื่นสามารถส่งสัญญาน (มีต่อ); มีช่วงความถี่ หรือ แมนด์วัดท์ ได้ 2.5 GHZ เมื่อนำสัญญานได้จากแต่ละความยาวมารวมกัน แล้วส่งในใยแก้วเพียงเส้นเดียว ได้ความจุสัญญาน 40 เท่าของระบบเดิม ER -