000 03711nab a2200253 4500
001 vtls000001063
003 VRT
005 20231003150528.0
008 120521 2000 th br 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0001-06460
039 9 _a201312191130
_bVLOAD
_c201207042124
_dVLOAD
_y201205211711
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aพันธ์ณรงค์ จันทร์แสงศรี.
_92110
245 1 0 _aการกำหนดสูตรของไวน์มะขามเติมแอลกอฮอล์กลั่นจากมะขามคละพันธุ์ของเขตภาคเหนือตอนล่าง /
_cพันธ์ณรงค์ จันทร์แสงศรี
520 _aในการผลิตไวน์เติมแอลกอฮอล์กลั่นจากมะขามพันธุ์น้ำผึ้งและพันธุ์ศรีชมภู ได้ทดลองใช้ยีสต์ 3 สายพันธุ์ คือ S Cerevisiac TISTR 5013, S Cerevisiac TISTR 5020 และ S Cerevisiac TISTR 5194 ซึ่งมีอายุที่เหมาะสม คือ 14,14 และ22 ชั่วโมงตามลำดับ และแปรความเข้มข้นของสเตรท (น้ำตาล) ในน้ำมะขามเป็น 3 ระดับพบว่าหลังจากการหมักเสร็จสิ้นลงใน 1 เดือน ไวน์มะขามที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ (มีต่อ)
520 _aสูงสุด 3 ลำดับแรก คือไวน์มะขามที่หมักด้วย S Cerevisiac TISTR 5013 และใช้สับสเตรต 22 องศาบริกซ์ ไวน์มะขามที่หมักด้วย S Cerevisiac TISTR 5020 และใช้สับสเตรต 26 องศาบริกซ์ และไวน์มะขามที่หมักด้วย S Cerevisiac TISTR 5194 และใช้สับสเตรต 26 องศาบริกซ์ เมื่อนำไวน์ทั้งสามไปเติมแอลกอฮอล์กลั่นจนมีแอลกอฮอล์ร้อยละ 20 (มีต่อ)
520 _aโดยปริมาตร แล้วนำไปทดสอบทางประสาทสัมผัส พบว่าไวน์เติมแอกอฮอล์กลั่นทั้ง 3 ตัวอย่างไม่มีความแตกต่างด้านสี แต่ผู้ทดสอบชิมให้การยอมรับไวน์เติมแอลกอฮอล์กลั่นที่ได้จากการหมักด้วย S Cerevisiac TISTR 5013 และใช้สับสเตรตเริ่มต้น 22 องศาบริกซ์ มากที่สุด ซึ่งผลจากการวิจัยนี้อาจนำไปสู่การพัฒนากระบวนการผลิตไวน์ เติมแอลกอฮอล์กลั่นในทางการค้าได้
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aไวน์มะขาม
_xการผลิต.
_92111
773 0 _tวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
_gปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2543) หน้า 26-31
_x0858-4435
942 _cSERIALS
999 _c1063
_d1063