000 03084nab a2200253 4500
001 vtls000001081
003 VRT
005 20231003150532.0
008 120521 2000 th mr 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0001-08260
039 9 _a201312191130
_bVLOAD
_c201207042125
_dVLOAD
_y201205211711
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aสมศักดิ์ ไชยะภินันท์.
_92136
245 1 0 _aข้อมูลภูมิอากาศกับการวิเคราะห์การใช้พลังงานของอาคาร /
_cสมศักดิ์ ไชยะภินันท์
520 _aบทความนี้กล่าวถึงความสำคัญการใช้ข้อมูลภูมิอากาศ ซึ่งถูกป้อนเป็นข้อมูลขาเข้าคู่โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้วิเคราะห์การใช้พลังงานของอาคาร โดยเฉพาะโปรแกรม DOE 2.1 E การศึกษาพบว่าหากป้อนข้อมูลภูมิอากาศซึ่งในส่วนของรังสีอาทิตย์ เป็นค่ารังสีแสงอาทิตย์ แบบรวมกับข้อมูลเมฆเป็นข้อมูลขาเข้า โปรแกรมจะละทิ้งค่าดังกล่าว (มีต่อ)
520 _aแล้วทำการคำนวณค่าขึ้นใหม่ ซึ่งจะแตกต่างกับข้อมูลที่ป้อนเข้าทำให้ผลเฉลยของการใช้พลังงานของอาคารที่ได้จากโปรแกรมไม่สอดคล้องกับการใช้พลังงานของอาคารในสภาพภูมิอากาศจริง นอกจากนี้บทความนี้ยังแสดงถึงวิธีและผลการคัดเลือกข้อมูลภูมิอากาศมาตรฐานของกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปเป็นข้อมูลขาเข้า (มีต่อ)
520 _aของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของอาคาร และกำหนดค่ลาเกณฑ์มาตรฐานอ้างอิง ใช้ในการอนุรักษ์พลังงานต่อไป
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aพลังงาน.
_9364
773 0 _tวิศวกรรมสาร
_gปีที่ 53 เล่มที่ 8 (สิงหาคม 2543) หน้า 86-88
_x0125-0523
942 _cSERIALS
999 _c1081
_d1081