000 04112nab a2200265 4500
001 vtls000000183
003 VRT
005 20231003150132.0
008 120521 1999 th br 0 0tha d
012 _aJournal
035 _a0000-18460
039 9 _a201312191115
_bVLOAD
_c201207042109
_dVLOAD
_y201205211705
_zVLOAD
040 _aPBRU
090 _aINDEX
100 0 _aพวงรัตน์ ขจิตวิชยานุกูล.
_9758
245 1 0 _aระวังสารพิษในอาหาร /
_cพวงรัตน์ ขจิตวิชยานุกูล
520 _aหลังจากที่ข่าวของ ไดออกซิน (Dioxin) ที่แพร่ระบาดเป็นที่ฮือฮาไปทั่วโลก ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับไดออกซินมีมาให้ผู้บริโภคได้รับรู้กันถ้วนหน้า อันที่จริงแล้วสารพิษที่ปะปนอยู่ในอาหารไม่ได้มีเพียง ไดออกซินเท่านั้น ยังมีดินประสิว หรือ กรดไนตริก บอแรกซ์ กรดซิดริค เป็นต้น อันตรายของสารพิษ เมื่อเข้าสู่ร่างกายแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ พิษเฉียบพลัน และพิษสะสม ผู้บริโภคจึงควรระวังสารพิษจากอาหารเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็น อาหารปิ้ง ย่าง ที่มีสารของไดออกซินและฟูแรนส์ ที่เป็นต้นกำเนิดของการเกิดมะเร็ง น้ำมะนาวมีกรดซิคริค จะทำลายระบบทางเดินอาหาร (มีต่อ)
520 _aอาหารทะเล มีสารพิษของโรงงานอุตสาหกรรมลงไปปนเปื้อน อาหารตากแห้งมีสารไนเตรท, ไนโตรท์ (ดินประสิว) ผลไม้แช่อิ่ม มีสารบอแรกซ์ โลหะหนัก หากมีสะสมอยู่ในร่างกายในปริมาณมาก จะทำให้ไตผิดปกติ และเกิดไตพิการได้ สารกันบูด ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ การป้องกันสารพิษจากอาหารนั้น ทำได้หลายวิธี โดยเฉพาะการหลีกเลี่ยงรับประทานอาหารที่มีความเสี่ยงต่อสารพิษให้น้อยที่สุด เพื่อให้การสะสมสารพิษในร่างกายอยู่ในปริมาณน้อย หรืออาหารบางประเภท เช่น อาหารทะเล ควรมีการหมุนเวียนรับประทานอาหารอื่นโดยไม่ให้ซ้ำประเภท เพื่อให้โอกาสในการรับสารพิษน้อยลง
650 4 _aSCI-TECH.
_9345
650 4 _aสารพิษ.
_9594
650 4 _aอาหารกับสารเคมี.
_9760
650 4 _aอาหาร
_xวัตถุเจือปนในอาหาร.
_9761
773 0 _tวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไทย
_gปีที่ 13 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ตุลาคม 2542) หน้า 35-37
_x0859-4716
942 _cSERIALS
999 _c183
_d183